ชื่อเรื่อง | : | การพัฒนาการจัดบริการปฐมภูมิในพื้นที่พิเศษจังหวัด ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา และสตูล ปีที่2 |
นักวิจัย | : | สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
คำค้น | : | การส่งเสริมสุขภาพ , การบริการสาธารณสุข , การสร้างเสริมสุขภาพ , นวัตกรรมปฐมภูมิ , ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ |
หน่วยงาน | : | สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
ผู้ร่วมงาน | : | - |
ปีพิมพ์ | : | 2552 |
อ้างอิง | : | hs1685 , http://hdl.handle.net/11228/2946 , WA546 ก125 2552 |
ที่มา | : | - |
ความเชี่ยวชาญ | : | - |
ความสัมพันธ์ | : | - |
ขอบเขตของเนื้อหา | : | ไทย |
บทคัดย่อ/คำอธิบาย | : | สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้สนับสนุนให้มีการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นปีที่2 ทั้งนี้เนื่องจากเดิมพื้นที่ดังกล่าว เป็นพื้นที่ที่ประชาชนเข้าไม่ถึงบริการสุขภาพ สาเหตุสำคัญเป็นเพราะความแตกต่างของวิถีชีวิตมลายูกับระบบบริการของรัฐไม่สอดคล้องกันนัก แม้ว่าในระยะต่อมาปัญหาระบบบริการสุขภาพในพื้นที่จะมีแนวโน้มดีขึ้นเมื่อมีนโยบายหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ แต่เมื่อวิกฤตความรุนแรงตั้งแต่ปี พ.ศ.2549 เป็นต้นมา สถานการณ์ความรุนแรงไม่มีแนวโน้มที่จะดีขึ้น นับวันยิ่งเลวร้าย ซ้ำเติมปัญหาการได้รับบริการสุขภาพของประชาชนในพื้นที่มากยิ่งขึ้น ตัวอย่างอาทิเช่น การควบคุมโรคชิกุนคุนยา ที่ไม่สามารถควบคุมได้ สาเหตุสำคัญคือการไม่สามารถทำงานเชิงรุกเข้าไปในพื้นที่บางพื้นที่ เป็นต้น การพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิให้สอดรับแนวทางการพึ่งพาตนเองของประชาชน การส่งเสริมป้องกัน และการควบคุมโรค โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน และสอดคล้องกับวิถีชุมชน เป็นแนวทางที่สำคัญที่จะช่วยป้องกัน และเยียวยาความทุกข์ด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ |
บรรณานุกรม | : |
สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ . "."
: , . Print. |