ชื่อเรื่อง | : | แผ่นรองนอนเพื่อป้องกันแผลกดทับ (ระยะที่ 2) |
นักวิจัย | : | ดนุ พรหมมินทร์ , พิทักษ์ เหล่ารัตนกุล , ภัทรวิทย์ รักษ์กุล , พสุ สิริสาลี , ปริญญา จันทร์หุณีย์ , Danu Prommin , Pitak Laoratanakul , Pattarawit Rukkul , Pasu Sirisalee , Parinya Junhunee |
คำค้น | : | Bedsores , Biomaterials , Biomedical Engineering , Engineering and technology , Sleeping pads , ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ , สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ , แผลกดทับ , แผ่นรองนอน |
หน่วยงาน | : | สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ |
ผู้ร่วมงาน | : | - |
ปีพิมพ์ | : | 2552 |
อ้างอิง | : | http://www.nstda.or.th/thairesearch/node/16534 |
ที่มา | : | - |
ความเชี่ยวชาญ | : | - |
ความสัมพันธ์ | : | - |
ขอบเขตของเนื้อหา | : | - |
บทคัดย่อ/คำอธิบาย | : | แม้ว่ายางธรรมชาติ (NR) จะเป็นยางที่มีสมบัติเชิงกลดีเยี่ยมและมีความยืดหยุ่นสูง แต่ยางธรรมชาติก็มีข้อด้อยหลักคือเสื่อมสภาพได้ง่าย เนื่องจากในยางธรรมชาติมีพันธะคู่อยู่ในปริมาณมาก จึงไม่ทนต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากออกซิเจน ความร้อน และโอโซน ซึ่งข้อด้อยดังกล่าวทำให้การใช้งานของยางธรรมชาติค่อนข้างจำกัด เพราะไม่สามารถนำยางธรรมชาติไปใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ต้องมีการใช้งานกลางแจ้งหรือที่ต้องสัมผัสกับโอโซน ด้วยเหตุนี้ จึงได้มีการพัฒนาเทคโนโลยียางผสม (Rubber Blend) โดยการนำยางธรรมชาติไปผสมกับยางสังเคราะห์ชนิดอื่น ๆ เพื่อที่จะปรับปรุงข้อด้อยของยางธรรมชาติดังกล่าว ซึ่งยางสังเคราะห์ที่นิยมนำมาใช้ผสมกับยางธรรมชาติต้องเป็นยางสังเคราะห์ที่มีปริมาณพันธะคู่อยู่น้อยมากหรือไม่มีพันธะคู่อยู่เลย เช่น ยาง EPDM หรือยาง EPM เพราะยางสังเคราะห์เหล่านี้จะทำให้ยางผสมที่ได้มีความทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากความร้อนและโอโซนสูงขึ้น อย่างไรก็ดี แม้ว่าการผสมยางธรรมชาติกับยาง EPDM ในสัดส่วน 60/40 จะทำให้ยางมีความทนทานต่อโอโซนได้ดี แต่ว่าสมบัติความทนทานต่อความร้อนของยางก็ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ ทั้งนี้เนื่องจากในยางผสมดังกล่าวมียางธรรมชาติเป็นเมทริกซ์ในขณะที่ยางสังเคราะห์เป็นวัฏภาคที่กระจายตัว ด้วยเหตุนี้ โครงการวิจัยนี้จึงเน้นที่จะศึกษาและพัฒนายางธรรมชาติทนความร้อนและโอโซนต้นแบบที่ได้จากการนำยางธรรมชาติไปผสมกับยางสังเคราะห์ชนิดต่าง ๆ เช่น EPDM EPM PU และ Q โดยมีสัดส่วนของยางธรรมชาติในปริมาณที่ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 และมีเป้าหมายหลักที่จะทำให้สัณฐานวิทยาของยางผสมที่ได้นั้นมียางธรรมชาติเป็นวัฏภาคที่กระจายตัวอยู่ในยางสังเคราะห์ หากโครงการวิจัยนี้ประสบความสำเร็จ ก็จะเป็นการสร้างนวัตกรรมใหม่ในการผลิตยางธรรมชาติทนความร้อน ทำให้สามารถนำยางธรรมชาติไปใช้งานได้หลากหลายมากยิ่งขึ้น ซึ่งหากสามารถผลิตยางธรรมชาติทนความร้อนและโอโซนไปใช้ได้จริงในเชิงพาณิชย์ ก็จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศอย่างมากมายเพราะนอกจากจะเป็นการเพิ่มปริมาณการใช้ยางธรรมชาติภายในประเทศแล้ว ยังช่วยลดปริมาณการนำเข้ายางสังเคราะห์จากต่างประเทศอีกด้วย |
บรรณานุกรม | : |
ดนุ พรหมมินทร์ , พิทักษ์ เหล่ารัตนกุล , ภัทรวิทย์ รักษ์กุล , พสุ สิริสาลี , ปริญญา จันทร์หุณีย์ , Danu Prommin , Pitak Laoratanakul , Pattarawit Rukkul , Pasu Sirisalee , Parinya Junhunee . (2552). แผ่นรองนอนเพื่อป้องกันแผลกดทับ (ระยะที่ 2).
ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. ดนุ พรหมมินทร์ , พิทักษ์ เหล่ารัตนกุล , ภัทรวิทย์ รักษ์กุล , พสุ สิริสาลี , ปริญญา จันทร์หุณีย์ , Danu Prommin , Pitak Laoratanakul , Pattarawit Rukkul , Pasu Sirisalee , Parinya Junhunee . 2552. "แผ่นรองนอนเพื่อป้องกันแผลกดทับ (ระยะที่ 2)".
ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. ดนุ พรหมมินทร์ , พิทักษ์ เหล่ารัตนกุล , ภัทรวิทย์ รักษ์กุล , พสุ สิริสาลี , ปริญญา จันทร์หุณีย์ , Danu Prommin , Pitak Laoratanakul , Pattarawit Rukkul , Pasu Sirisalee , Parinya Junhunee . "แผ่นรองนอนเพื่อป้องกันแผลกดทับ (ระยะที่ 2)."
ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2552. Print. ดนุ พรหมมินทร์ , พิทักษ์ เหล่ารัตนกุล , ภัทรวิทย์ รักษ์กุล , พสุ สิริสาลี , ปริญญา จันทร์หุณีย์ , Danu Prommin , Pitak Laoratanakul , Pattarawit Rukkul , Pasu Sirisalee , Parinya Junhunee . แผ่นรองนอนเพื่อป้องกันแผลกดทับ (ระยะที่ 2). ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ; 2552.
|