ชื่อเรื่อง | : | ระบบควบคุมเครื่องกัดอัตโนมัติ ระยะที่ 2 |
นักวิจัย | : | วุฒิภัทร คอวนิช , กนกเวทย์ ตั้งพิมลรัตน์ , วุฒิกร เชาว์ประมวลกุล , อุดม โกมินทร์ , ธีรพงศ์ ฟองจันทร์ , อภิสิทธิ์ ตันตระวรศิลป์ , Wutthiphat Covanich , Kanokvate Tungpimolrut , Wuttikorn Chaopramualkul , Udom Komin , Theerapong Fongjun , Apicit Tantaworrasilp |
คำค้น | : | Automatic control systems , Engineering and technology , Machinery , Manufacturing engineering , การควบคุมอัตโนมัติ , ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ , สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย , เครื่องกัด , เครื่องจักรกล |
หน่วยงาน | : | สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ |
ผู้ร่วมงาน | : | - |
ปีพิมพ์ | : | 2553 |
อ้างอิง | : | http://www.nstda.or.th/thairesearch/node/3760 |
ที่มา | : | - |
ความเชี่ยวชาญ | : | - |
ความสัมพันธ์ | : | - |
ขอบเขตของเนื้อหา | : | - |
บทคัดย่อ/คำอธิบาย | : | ในปัจจุบันการใช้งานเครื่องจักรซีเอ็นซีภายในประเทศมีเพิ่มมากขึ้นทุกปี เนื่องจากช่วยประหยัดเวลา แรงงาน และช่วยให้คุณภาพของชิ้นงานดีขึ้น แต่เครื่องจักรกลส่วนใหญ่ไม่สามารถผลิตได้ภายในประเทศ ต้องนำเข้าเป็นจำนวนเงินสูงมากทุกปี ซึ่งเครื่องจักรที่นำเข้ามาใช้งานมีอายุการใช้งานประมาณ 5-10 ปี เมื่อเครื่องจักรหมดอายุก็จำเป็นต้องมีการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งเรียกกันว่าการรีโทรฟิต จากการสำรวจของสมาคมเครื่องจักรกลไทยมีเครื่องจักรที่รอการรีโทรฟิตประมาณ 40,000 เครื่อง ซึ่งในประเทศมีผู้ประกอบการหลายรายที่มีความสามารถในการรีโทรฟิตเครื่องจักรกล แต่ยังต้องนำเข้าระบบควบคุมจากต่างประเทศ โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบควบคุมเครื่องกัดอัตโนมัติ ซึ่งเป็นเครื่องจักรที่ใช้มากในอุตสาหกรรม ในปี 2551 ที่ผ่านมา ทีมวิจัยเนคเทคร่วมกับสถาบันไทย-เยอรมัน และสำนักงานการอาชีวศึกษาพัฒนาต้นแบบระบบควบคุมเครื่องกัดอัตโนมัติขึ้นมาเป็นผลสำเร็จ และได้ทดลองติดตั้งที่วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงครามและวิทยาลัยเทคนิคนครปฐม เป็นที่เรียบร้อย โครงการในระยะที่ 2 นี้ แบ่งงานออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกคือการขยายผลการใช้งานระบบควบคุมในสถาบันการศึกษาที่มีเครื่องจักร เสื่อมสภาพจำนวนทั้งสิ้น 15 เครื่อง และส่วนที่สองเป็นการพัฒนาระบบควบคุมเครื่องกัดอัตโนมัติเพิ่มเติมเพื่อให้ฟังก์ชั่นการทำงานทัดเทียมกับเครื่องจักรในอุตสาหกรรม โครงการวิจัยในระยะที่ 2 นี้ใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 1 ปี งบประมาณของโครงการทั้งสิ้น 2.5 ล้านบาท ซึ่งเป็นงบประมาณสนับสนุนจากสำนักงานการอาชีวศึกษาจำนวน 1.5 ล้านบาท และจากสถาบันไทยเยอรมันจำนวน 1 ล้านบาท |
บรรณานุกรม | : |
วุฒิภัทร คอวนิช , กนกเวทย์ ตั้งพิมลรัตน์ , วุฒิกร เชาว์ประมวลกุล , อุดม โกมินทร์ , ธีรพงศ์ ฟองจันทร์ , อภิสิทธิ์ ตันตระวรศิลป์ , Wutthiphat Covanich , Kanokvate Tungpimolrut , Wuttikorn Chaopramualkul , Udom Komin , Theerapong Fongjun , Apicit Tantaworrasilp . (2553). ระบบควบคุมเครื่องกัดอัตโนมัติ ระยะที่ 2.
ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. วุฒิภัทร คอวนิช , กนกเวทย์ ตั้งพิมลรัตน์ , วุฒิกร เชาว์ประมวลกุล , อุดม โกมินทร์ , ธีรพงศ์ ฟองจันทร์ , อภิสิทธิ์ ตันตระวรศิลป์ , Wutthiphat Covanich , Kanokvate Tungpimolrut , Wuttikorn Chaopramualkul , Udom Komin , Theerapong Fongjun , Apicit Tantaworrasilp . 2553. "ระบบควบคุมเครื่องกัดอัตโนมัติ ระยะที่ 2".
ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. วุฒิภัทร คอวนิช , กนกเวทย์ ตั้งพิมลรัตน์ , วุฒิกร เชาว์ประมวลกุล , อุดม โกมินทร์ , ธีรพงศ์ ฟองจันทร์ , อภิสิทธิ์ ตันตระวรศิลป์ , Wutthiphat Covanich , Kanokvate Tungpimolrut , Wuttikorn Chaopramualkul , Udom Komin , Theerapong Fongjun , Apicit Tantaworrasilp . "ระบบควบคุมเครื่องกัดอัตโนมัติ ระยะที่ 2."
ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2553. Print. วุฒิภัทร คอวนิช , กนกเวทย์ ตั้งพิมลรัตน์ , วุฒิกร เชาว์ประมวลกุล , อุดม โกมินทร์ , ธีรพงศ์ ฟองจันทร์ , อภิสิทธิ์ ตันตระวรศิลป์ , Wutthiphat Covanich , Kanokvate Tungpimolrut , Wuttikorn Chaopramualkul , Udom Komin , Theerapong Fongjun , Apicit Tantaworrasilp . ระบบควบคุมเครื่องกัดอัตโนมัติ ระยะที่ 2. ปทุมธานี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ; 2553.
|