ชื่อเรื่อง | : | การเปรียบเทียบผลของโรคภายในระยะเวลา 2 ปีของผู้ที่มีภาวะสมองขาดเลือดโดยเปรียบเทียบระหว่างผู้ที่มีหลอดเลือดแดงภายในโพรงกะโหลกศีรษะตีบโดยไม่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดส่วนนอกโพรงกะโหลกศีรษะกับผู้ที่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดส่วนนอกโพรงกะโหลกศีรษะ |
นักวิจัย | : | กุลธิดา เมธาวศิน |
คำค้น | : | หลอดเลือดสมอง -- โรค , กะโหลกศรีษะ , หลอดเลือดแดง |
หน่วยงาน | : | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
ผู้ร่วมงาน | : | นิจศรี ชาญณรงค์ , กัมมันต์ พันธุมจินดา , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ |
ปีพิมพ์ | : | 2549 |
อ้างอิง | : | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8472 |
ที่มา | : | - |
ความเชี่ยวชาญ | : | - |
ความสัมพันธ์ | : | - |
ขอบเขตของเนื้อหา | : | - |
บทคัดย่อ/คำอธิบาย | : | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 ความสำคัญและที่มาของการวิจัย: ความเสี่ยงในการเกิดสมองขาดเลือดซ้ำและภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจาก หลอดเลือดโคโรนารีอุดตันเพิ่มขึ้น ในผู้ป่วยสมองขาดเลือดที่สาเหตุจากภาวะหลอดเลือดแดงเข็งของหลอดเลือด แดงขนาดใหญ่ เป้าหมายของการศึกษานี้เพื่อเปรียบเทียบผลของโรคภายในระยะเวลา 2 ปี ของผู้ที่มีภาวะสมอง ขาดเลือดระหว่างผู้ที่มีหลอดเลือดแดงภายในโพรงกะโหลกศีรษะตีบโดยไม่มีการตีบของหลอดเลือดแดง อินเทอร์นอลคาโรติคส่วนนอกโพรงกะโหลกศีรษะ กับผู้ที่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติด ส่วนนอกโพรงกะโหลกศีรษะ วิธีการทำวิจัย: ผู้วิจัยทำการวิจัยแบบไปข้างหน้าของู้ป่วยสมองขาดเลือดจำนวน 123 คน ซึ่ง 71 คน มีหลอดเลือดแดงในโพรงกะโหลกศีรษะตีบ และ 52 คน มีหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติคนอก โพรงกะโหลกศีรษะตีบ โดยตรวจร่างกายทางประสาทวิทยาและตรวจทางรังสีวิทยาของสมองตั้งแต่เริ่มการวิจัย ผู้ป่วยทั้งหมดได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกของหน่วยประสาทวิทยาในระยะเวลาติดตามอาการ 24 เดือน โรคหลอดเลือดสมองซ้ำ, กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และ เสียชีวิต จะถูกบันทึกไว้ ผลการวิจัย: ผู้ป่วย 15 คนจากกลุ่ม หลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะตีบ และ 18 คนจากกลุ่มหลอดเลือดแดงในโพรง กะโหลกศีรษะตีบเกิดโรคหลอดเลือดสมองซ้ำระหว่างติดตาอาการ (p<0.409) ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจาก หลอดเลือดโคโรนารีอุดตัน เกิดขึ้น 8 คนในกลุ่มหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะตีบ และมีเพียง 1 คนในกลุ่มหลอดเลือดแดงในโพรงกะโหลกศีรษะตีบ (p<0.05) สาเหตุการเสียชีวิตคือมะเร็งระยะ สุดท้าย, โรคหลอดเลือดสมองและภาวะที่เกี่ยวข้อง และกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจากหลอดเลือดโคโรนารีอุดตัน ปัจจัยเสี่ยงสำคัญต่อการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจากหลอดเลือดโคโรนารีอุดตันคือ หลอดเลือดแดง อินเทอร์นอลคาโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะแบบมีอาการ (p<0.05, RR = 12.8) สรุปผลการวิจัย: การเกิดสมองขาด เลือดซ้ำและโรคหลอดเลือดสมองซ้ำระหว่างผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงในโพรงกะโหลกศีรษะตีบโดยไม่มีการตีบ ของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลโคโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะและผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอล คาโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะตีบไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดง อินเทอร์นอลคาโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะตีบมีอุบัติการณ์ของกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจากหลอดเลือดโคโรนารีอุดตันมากกว่าผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงในโพรงกะโหลกศีรษะตีบโดยไม่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะอย่างมีนัยสำคัญ |
บรรณานุกรม | : |
กุลธิดา เมธาวศิน . (2549). การเปรียบเทียบผลของโรคภายในระยะเวลา 2 ปีของผู้ที่มีภาวะสมองขาดเลือดโดยเปรียบเทียบระหว่างผู้ที่มีหลอดเลือดแดงภายในโพรงกะโหลกศีรษะตีบโดยไม่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดส่วนนอกโพรงกะโหลกศีรษะกับผู้ที่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดส่วนน.
กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กุลธิดา เมธาวศิน . 2549. "การเปรียบเทียบผลของโรคภายในระยะเวลา 2 ปีของผู้ที่มีภาวะสมองขาดเลือดโดยเปรียบเทียบระหว่างผู้ที่มีหลอดเลือดแดงภายในโพรงกะโหลกศีรษะตีบโดยไม่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดส่วนนอกโพรงกะโหลกศีรษะกับผู้ที่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดส่วนน".
กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กุลธิดา เมธาวศิน . "การเปรียบเทียบผลของโรคภายในระยะเวลา 2 ปีของผู้ที่มีภาวะสมองขาดเลือดโดยเปรียบเทียบระหว่างผู้ที่มีหลอดเลือดแดงภายในโพรงกะโหลกศีรษะตีบโดยไม่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดส่วนนอกโพรงกะโหลกศีรษะกับผู้ที่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดส่วนน."
กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549. Print. กุลธิดา เมธาวศิน . การเปรียบเทียบผลของโรคภายในระยะเวลา 2 ปีของผู้ที่มีภาวะสมองขาดเลือดโดยเปรียบเทียบระหว่างผู้ที่มีหลอดเลือดแดงภายในโพรงกะโหลกศีรษะตีบโดยไม่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดส่วนนอกโพรงกะโหลกศีรษะกับผู้ที่มีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดส่วนน. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2549.
|