ชื่อเรื่อง | : | การประยุกต์ใช้กระบวนการรังวัดบนภาพถ่ายระยะใกล้สำหรับการวัดละเอียดสูง |
นักวิจัย | : | ชาติชาย ไวยสุระสิงห์, 2522- |
คำค้น | : | การถ่ายภาพ , กล้องถ่ายรูปดิจิตอล , การรังวัด |
หน่วยงาน | : | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
ผู้ร่วมงาน | : | วิชัย เยี่ยงวีรชน , วิบูลย์ แสงวีพันธุ์ศิริ , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
ปีพิมพ์ | : | 2545 |
อ้างอิง | : | 9741713657 , http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1372 |
ที่มา | : | - |
ความเชี่ยวชาญ | : | - |
ความสัมพันธ์ | : | - |
ขอบเขตของเนื้อหา | : | - |
บทคัดย่อ/คำอธิบาย | : | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 การวิจัยนี้ได้นำเอาการสำรวจด้วยภาพถ่ายระยะใกล้มาประยุกต์เข้ากับการวัดความละเอียดสูงที่ความถูกต้องในเกณฑ์ 20 - 80 ไมครอน เพื่อการศึกษากระบวนการนำกล้องถ่ายภาพดิจิตอลความละเอียดสูงที่มีขายอยู่ทั่วไปตามท้องตลาด (ความละเอียดจุดภาพ 3 ล้านจุดภาพขึ้นไป) โดยงานวิจัยนี้ใช้กล้องโซนี่ รุ่น เอส 75 (SONY S-75) มาเก็บข้อมูลสำหรับวิเคราะห์ชิ้นงานตามกรณีศึกษาที่กำหนดขึ้นจากกรรมวิธีการวัดสอบกล้อง กรรมวิธีการเก็บข้อมูลและจำนวนตำแหน่งถ่ายภาพแบบสมมาตร4ตำแหน่งและ8ตำแหน่ง ผลลัพธ์ที่ได้ แสดงถึง การวัดความละเอียดสูงความถูกต้องในระดับ 80 ไมครอนด้วยการวัดจากการสำรวจด้วยภาพถ่าย โดยปัจจัยที่มีผลให้ความถูกต้องของการวัดขนาดให้อยู่ในระดับที่ต้องการได้แก่ จำนวนตำแหน่งถ่ายภาพ กรรมวิธีในการวัดสอบกล้อง วิธีการวัดพิกัดภาพ ความถูกต้องของพิกัดหมุดบังคับภาพ ชนิดของเป้า การควบคุมแสงในการถ่ายภาพ |
บรรณานุกรม | : |
ชาติชาย ไวยสุระสิงห์, 2522- . (2545). การประยุกต์ใช้กระบวนการรังวัดบนภาพถ่ายระยะใกล้สำหรับการวัดละเอียดสูง.
กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ชาติชาย ไวยสุระสิงห์, 2522- . 2545. "การประยุกต์ใช้กระบวนการรังวัดบนภาพถ่ายระยะใกล้สำหรับการวัดละเอียดสูง".
กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ชาติชาย ไวยสุระสิงห์, 2522- . "การประยุกต์ใช้กระบวนการรังวัดบนภาพถ่ายระยะใกล้สำหรับการวัดละเอียดสูง."
กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545. Print. ชาติชาย ไวยสุระสิงห์, 2522- . การประยุกต์ใช้กระบวนการรังวัดบนภาพถ่ายระยะใกล้สำหรับการวัดละเอียดสูง. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2545.
|