ชื่อเรื่อง | : | การประมาณค่าเฉลี่ยด้วยค่าประมาณอัตราส่วนของประชากรอันตะ |
นักวิจัย | : | ณรงค์ ชัยประยูรหัทธยา, 2521- |
คำค้น | : | ค่าเฉลี่ย , การสุ่มตัวอย่าง (สถิติ) |
หน่วยงาน | : | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
ผู้ร่วมงาน | : | กัลยา วานิชย์บัญชา , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี |
ปีพิมพ์ | : | 2546 |
อ้างอิง | : | 9741743483 , http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/577 |
ที่มา | : | - |
ความเชี่ยวชาญ | : | - |
ความสัมพันธ์ | : | - |
ขอบเขตของเนื้อหา | : | - |
บทคัดย่อ/คำอธิบาย | : | วิทยานิพนธ์ (สต.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอตัวประมาณอัตราส่วนตัวใหม่สำหรับประมาณค่าเฉลี่ยประชากร ซึ่งพัฒนามาจากตัวประมาณของ Tin (1965 ; r[subscript T1] และ r[subscript T2]) โดยตัวประมาณที่เสนอ คือ y[subscript MOD1] = (1 - W) y + W r[subscript T1]X และ y[subscript MOD2] = (1 - W) y + W r[subscript T2]X เมื่อ Wคือ ค่าถ่วงน้ำหนัก ซึ่งได้ศึกษาถึงคุณสมบัติของตัวประมาณ และเปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวประมาณที่เสนอกับตัวประมาณของ Chakrabarty (1979 ; y[subscript C1] และ y[subscript C2]) และตัวประมาณอัตราส่วน y[subscript r] = rX เมื่อ r = y/x การเลือกตัวประมาณที่เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ จะแบ่งการศึกษาเป็น 2 กรณี คือ กรณีทั่วไปและกรณีที่ y และ x มีความสัมพันธ์ภายใต้ตัวแบบเชิงเส้น y[subscript i] = alpha + beta x[subscript i] + u[subscript i] ; beta > 0 เมื่อ x[subscript i]/n มีการแจกแจงแบบแกมม่า พารามิเตอร์ h และ u[subscript i] มีการแจกแจงแบบปกติค่าเฉลี่ยเท่ากับศูนย์และค่าแปรปรวนเท่ากับ n-delta ผลจากการวิจัยพบว่ากรณีทั่วไปและกรณีที่ y และ x มีความสัมพันธ์ภายใต้ตัวแบบเชิงเส้นที่กำหนด สำหรับ m = nh is more than or equal to 32 ถ้า y และ x มีความสัมพันธ์อยู่ในระดับหนึ่ง และสัมประสิทธิความแปรผันของ x มีค่าใกล้เคียงกับของ y และ/หรือ น้อยกว่าสองเท่าของ y แล้ว ตัวประมาณ y[subscript C1], y[subscript C2], y[subscript MOD1] และ y[subscript MOD2] จะมีประสิทธิภาพมากกว่า y[subscript r] และ y ซึ่งตัวประมาณ y[subscript C1], y[subscript C2], y[subscript MOD1] และ y[subscript MOD2 จะมีประสิทธิภาพใกล้เคียงกันเมื่อตัวอย่างมีขนาดใหญ่พอ โดยที่ y[subscript C1] เป็นตัวประมาณที่คำนวณง่ายที่สุด แต่ y[subscript MOD1] เป็นตัวประมาณที่มีผลกระทบของความเอนเอียงต่อประสิทธิภาพน้อยที่สุด และค่า W ที่เหมาะสมที่สุดควรอยู่ระหว่าง (2 rho - K)/K ถึง 2 rho/Kเมื่อ K = C[subscript x/C[subscript y], C[subscript x] = S[subscript x]/X และ C[subscript y] = S[subscript y]/Y |
บรรณานุกรม | : |
ณรงค์ ชัยประยูรหัทธยา, 2521- . (2546). การประมาณค่าเฉลี่ยด้วยค่าประมาณอัตราส่วนของประชากรอันตะ.
กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ณรงค์ ชัยประยูรหัทธยา, 2521- . 2546. "การประมาณค่าเฉลี่ยด้วยค่าประมาณอัตราส่วนของประชากรอันตะ".
กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ณรงค์ ชัยประยูรหัทธยา, 2521- . "การประมาณค่าเฉลี่ยด้วยค่าประมาณอัตราส่วนของประชากรอันตะ."
กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546. Print. ณรงค์ ชัยประยูรหัทธยา, 2521- . การประมาณค่าเฉลี่ยด้วยค่าประมาณอัตราส่วนของประชากรอันตะ. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2546.
|