ปี พ.ศ. 2558 |
1 |
ความพึงพอใจของผู้เข้าพักอาศัยอาคารอยู่อาศัยรวมที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโรงพยาบาลเอกชน กรณีศึกษา: โครงการเซอร์วิสอพาร์ทเมนต์และอพาร์ทเมนต์รอบโรงพยาบาลกรุงเทพ |
2 |
แนวทางการปรับเปลี่ยนของเซอร์วิสอพาร์ตเมนต์กึ่งโรงแรม: กรณีศึกษา โรงแรมจัสมิน ซิตี้ และโรงแรมซัมเมอร์เซ็ท เลค พ้อยท์ กรุงเทพมหานคร |
3 |
สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุในโครงการจัดสรรประเภทบ้านเดี่ยว บ้านแฝด บ้านแถว: กรณีศึกษา โครงการไอลีฟพาร์ค และ ไอลีฟทาวน์ กานดา พระราม 2 กม.14 (แสมดำ) |
4 |
กระบวนการพัฒนาโครงการรีสอร์ทเพื่อสุขภาพ: กรณีศึกษา โครงการเต๋าการ์เด้น เฮลธ์สปาแอนด์รีสอร์ท และโครงการปานวิมาน เชียงใหม่ สปา รีสอร์ท |
5 |
การพัฒนาโรงแรมที่มีอาคารอนุรักษ์อายุมากกว่า 100 ปี ให้เป็นส่วนหนึ่งของโรงแรม:กรณีศึกษา โรงแรมระรินจินดา เวลล์เนส สปาแอนด์รีสอร์ท และ อนันตรา เชียงใหม่ รีสอร์ท จังหวัดเชียงใหม่ |
6 |
แนวทางการพัฒนาโครงการศูนย์การค้าที่มีร้านค้าย่อย: กรณีศึกษา โครงการศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซาแกรนด์พระราม9 โครงการศูนย์การค้าเทอร์มินัล21 และโครงการศูนย์การค้าสยามสแควร์1 |
7 |
ความต้องการที่อยู่อาศัยของพนักงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
8 |
การบริหารลูกค้าสัมพันธ์สำหรับอาคารสำนักงาน |
9 |
พฤติกรรมการใช้พื้นที่ภายในห้องพักอาศัยในอาคารชุดของกลุ่มผู้ที่ซื้อเพื่อการอยู่อาศัยจริง: กรณีศึกษาโครงการพระราม3-ริเวอร์วิว, ลุมพินี วิลล์ แบริ่ง-ลาซาล, เดอะซี้ดสาทร-ตากสิน และ เดอะแบงค็อค นราธิวาส |
10 |
แนวทางการพัฒนาและการบริหารพื้นที่โครงการที่ใช้ประโยชน์แบบผสม: กรณีศึกษา เทอมินอล 21 และเดอะแพลทินัม (ส่วนขยาย) |
ปี พ.ศ. 2557 |
11 |
การสำรวจความเห็นที่มีต่อการพัฒนาของผู้ประกอบการ และผู้ใช้บริการ: กรณีศึกษา ศูนย์การค้าสยามสแควร์ |
12 |
แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงด้านกายภาพศูนย์เอนกประสงค์สำหรับผู้สูงอายุ |
13 |
พฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี ในประเทศไทย |
14 |
แนวทางการปรับปรุงหอพักสำหรับคนพิการทางการมองเห็น: กรณีศึกษา วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล และ โรงเรียนสอนคนตาบอด กรุงเทพมหานคร |
15 |
แนวทางการพัฒนาและบริหารอาคารทางประวัติศาสตร์มาเป็นโรงแรมบูติคในเขตกรุงเทพฯ กรณีศึกษา โรงแรมจักรพงษ์วิลล่าและโรงแรมพระยาพาลาซโซ |
16 |
แนวทางการพัฒนาโครงการของผู้ประกอบการกับการใช้งานของผู้พักอาศัยในอาคารชุดพักอาศัยใกล้สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส: กรณีศึกษา สถานีอ่อนนุช สถานีอารีย์ และสถานีกรุงธนบุรี |
17 |
แนวทางการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ตามแนวรถไฟฟ้าสายสีม่วง โดยใช้ทฤษฎีการพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานี (TOD) |
18 |
กระบวนการพัฒนาโรงแรมบูติคที่มีกิจการเพื่อสังคม |
ปี พ.ศ. 2556 |
19 |
กระบวนการการลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ของนักลงทุนไทย ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว |
20 |
สภาพการอยู่อาศัยและพฤติกรรมสุขภาพของชาวญี่ปุ่นในอาคารอยู่อาศัยรวม เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร |
21 |
พฤติกรรมและสภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุในอาคารชุดที่ออกแบบเพื่อผู้สูงอายุ กรณีศึกษา สวางคนิเวศ จ.สมุทรปราการ |
22 |
กระบวนการการลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ของนักลงทุนในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ |
23 |
ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกที่พักอาศัยของชาวญี่ปุ่นที่ได้รับอนุญาตทำงานในจังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดชลบุรี |
24 |
การออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อทุกคน สำหรับศูนย์การค้าชุมชน |
25 |
ขั้นตอนในการลงทุนพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทญี่ปุ่นและบริษัทสิงคโปร์ในประเทศไทย: กรณีศึกษา บริษัท โคโตบูกิ พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด และ บริษัท ลากูน่า รีสอร์ท แอนด์ โฮเท็ล จำกัด (มหาชน) |
26 |
ประโยชน์เชิงธุรกิจในการพัฒนาอาคารสำนักงานที่เป็นอาคารเขียว |
27 |
สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อมในโครงการที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุ |
28 |
การใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการบริหารโครงการ ประเภทอาคารพักอาศัย |
ปี พ.ศ. 2555 |
29 |
โครงการศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ |
30 |
แนวทางการปรับปรุงอาคารในการจัดสิ่งอำนวยความสะดวก สำหรับผู้พิการและผู้สูงอายุ กรณีศึกษาโรงแรมในเขตกรุงเทพฯ |
31 |
การประเมินการอยู่อาศัยของบ้านพักถาวรสำหรับผู้ประสบภัยน้ำท่วมภาคใต้ ปี พ.ศ. 2554 : กรณีศึกษาโครงการบ้านพักถาวรจังหวัดกระบี่ |
32 |
การประเมินการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ กรณีศึกษา เทศบาลตำบลยางฮอม จังหวัดเชียงราย และเทศบาลตำบลหนองตองพัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ |
33 |
แนวทางการปรับปรุงสภาพที่อยู่อาศัยและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยเพื่อคนพิการ จังหวัดนนทบุรี |
34 |
เปรียบเทียบกระบวนการปรับปรุงและลักษณะที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ ระหว่างจังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดปทุมธานี |
35 |
การปรับตัวของโครงการอสังหาริมทรัพย์แนวราบ ภายหลังเหตุการณ์อุทกภัยปี พ.ศ. 2554 : กรณีศึกษา โครงการเพอร์เฟค พาร์ค บางบัวทอง และโครงการเดอะ ลีฟวิ่ง บ้านกล้วย – ไทรน้อย |
36 |
ผลกระทบลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยหลังน้ำท่วม : กรณีศีกษาลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) |
37 |
สภาพการอยู่อาศัยและการปรับปรุงที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย จังหวัดสระบุรี |
38 |
การลงทุนธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ในสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามของนักลงทุนไทยเมื่อเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
39 |
การศึกษาผลกระทบและการปรับตัวสำหรับอสังหาริมทรัพย์ ประเภทอาคารชุด ภายหลังเหตุอุทกภัย ปี พ.ศ.2554 : กรณี ศึกษาพื้นที่กรุงเทพมหานคร ถนนลาดพร้าวและถนนปิ่นเกล้า-รัชดา |
40 |
กระบวนการพัฒนาโครงการ บูติค แคมป์ปิ้ง รีสอร์ท : กรณีศึกษา คีรีมายา กอล์ฟ รีสอร์ท แอนด์ สปา และ ฟาร์มโชคชัย บูติค แคมป์ จังหวัดนครราชสีมา |
41 |
แนวทางการปรับปรุงอาคารในการจัดสิ่งอำนวยความสะดวก สำหรับผู้พิการและผู้สูงอายุ กรณีศึกษาโรงแรมในเขตกรุงเทพฯ |
42 |
การประเมินการอยู่อาศัยของบ้านพักถาวรสำหรับผู้ประสบภัยน้ำท่วมภาคใต้ ปี พ.ศ. 2554 : กรณีศึกษาโครงการบ้านพักถาวรจังหวัดกระบี่ |
ปี พ.ศ. 2554 |
43 |
แนวทางการป้องกันอุทกภัยสำหรับโครงการอสังหาริมทรัพย์ในแนวราบ กรณีศึกษา : โครงการพฤกษ์ลดา วงแหวน-รัตนาธิเบศร์ และโครงการพฤกษ์ลดา 2 บางใหญ่ |
44 |
การปรับตัวของผู้ประกอบการธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่อาศัย ขนาดกลาง-ย่อม ในเขตกรุงเทพมหานคร |
45 |
มาตรฐานขั้นต่ำในการปรับปรุงหอพักในมหาวิทยาลัยที่เอื้อต่อนักศึกษาพิการ |
46 |
สภาพการอยู่อาศัยในโครงการเช่าพักอาศัยของชาวญี่ปุ่น : กรณีศึกษาสุขุมวิทซอย 41, กรุงเทพมหานคร |
47 |
ปัจจัยในการตัดสินใจซื้อที่พักอาศัยของชาวต่างชาติที่มาท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวในอำเภอหัวหิน : กรณีศึกษา โครงการสมาร์ท เฮ้าส์ หัวหิน |
48 |
ความต้องการที่พักอาศัย โครงการพัฒนาที่ดินบริเวณจุฬาซอย 9 (หมอน 41) ของนิสิตและบุคลากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
49 |
การปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยกับการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ : กรณีศึกษา ตำบลท่างาม อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี |
50 |
แนวทางการจัดเตรียมที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุในเมือง : กรณีศึกษา ชมรมผู้สูงอายุในสวนสาธารณะลุมพินี กรุงเทพมหานคร |
ปี พ.ศ. 2553 |
51 |
การปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกชุมชนเพื่อการอยู่อาศัยที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุในชนบทภาคกลาง: กรณีศึกษาหมู่บ้านเขาน้อย อำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ |
52 |
แนวทางการปรับตัวของอพาร์ตเม้นท์ต่อการให้เช่าห้องชุดพักอาศัยของโครงการคอนโดมิเนียม : กรณีศึกษาพื้นที่เขตบางพลัด เขตบางกอกน้อย |
53 |
ปัจจัยในการตัดสินใจซื้อห้องชุดพักอาศัยใกล้สถานีรถไฟฟ้า : กรณีศึกษา โครงการไอดีโอ มิกซ์ พหลโยธิน และไอดีโอ คิว พญาไท |
54 |
แนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุในชนบท กรณีศึกษา ตำบลหนองกุงเชิน อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น |
55 |
แนวทางการปรับปรุงที่อยู่อาศัยคนพิการในจังหวัดอุดรธานี:กรณีศึกษาอำเภอหนองหาน และ อำเภอกุมภวาปี |
56 |
แนวทางการพัฒนาอาคารสวัสดิการพักอาศัยข้าราชการตำรวจซอยเฉลิมลาภ |
57 |
การเปรียบเทียบการก่อสร้างบ้านเดี่ยว 2 ชั้น ด้วยระบบโครงสร้าง เสา-คานเหล็กสำเร็จรูปกับระบบเดิม |
58 |
พฤติกรรมการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุชาวญี่ปุ่นที่มาท่องเที่ยวพำนักระยะยาว : กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ |
59 |
การเปรียบเทียบการก่อสร้างบ้านเดี่ยว 2 ชั้น ด้วยระบบโครงสร้างเสา-คานเหล็กสำเร็จรูปกับระบบเดิม |
60 |
ปัจจัยในการตัดสินใจซื้อห้องชุดพักอาศัยใกล้สถานีรถไฟฟ้า : กรณีศึกษา โครงการไอดีโอ มิกซ์ พหลโยธิน และไอดีโอ คิว พญาไท |
61 |
แนวทางการปรับตัวของอพาร์ตเม้นท์ ต่อการให้เช่าห้องชุดพักอาศัยของโครงการคอนโดมีเนียม : กรณีศึกษาพื้นที่เขตบางพลัด เขตบางกอกน้อย |
62 |
แนวทางการพัฒนาอาคารสวัสดิการพักอาศัยข้าราชการตำรวจซอยเฉลิมลาภ |
ปี พ.ศ. 2552 |
63 |
สภาพการอยู่อาศัยในที่อยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยวของผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม : กรณีศึกษาสมาชิกสมาคมผู้ดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมแห่งประเทศไทยในเขตกรุงเทพมหานคร |
64 |
ปัจจัยที่ทำให้เกิดหนี้ค้างชำระของสินเชื่อที่อยู่อาศัยในแต่ละระดับ LTV : กรณีศึกษา ธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง |
65 |
สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุในอาคารชุด : กรณีศึกษา อาคารชุดในแขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร |
66 |
โอกาสในการนำระบบประสานทางพิกัดมาพัฒนาการออกแบบบ้านเดี่ยว 2 ชั้น ในการก่อสร้างแบบอุตสาหกรรม : กรณีศึกษาโครงการเพอร์เฟค พาร์ค จังหวัดนนทบุรี |
67 |
ผลของการวางผังอาคารชุดพักอาศัย ที่มีผลต่อผู้พักอาศัย : กรณีศึกษา โครงการลุมพินีเพลส นราธิวาส-เจ้าพระยา และโครงการลุมพินีวิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม กรุงเทพมหานคร |
68 |
การเปรียบเทียบกระบวนการก่อสร้างที่อยู่อาศัยบ้านเดี่ยว 2 ชั้น ระหว่างระบบดั้งเดิมกับระบบเสาและคานสำเร็จรูปและระบบผนังสำเร็จรูป : กรณีศึกษา โครงการเพอร์เฟคพาร์ค จังหวัดนนทบุรี |
69 |
โอกาสในการนำระบบประสานทางพิกัดมาพัฒนาการออกแบบบ้านเดี่ยว 2 ชั้นในการก่อสร้างแบบอุตสาหกรรม : กรณีศึกษาโครงการเพอร์เฟค พาร์ค จังหวัดนนทบุรี |
70 |
ผลของการวางผังอาคารชุดพักอาศัย ที่มีผลต่อผู้พักอาศัย : กรณีศึกษา โครงการลุมพินีเพลส นราธิวาส-เจ้าพระยา และโครงการลุมพินีวิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม กรุงเทพมหานคร |
71 |
สภาพการอยู่อาศัยในที่อยู่อาศัยประเภทบ้านเดี่ยว ของผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม : กรณีศึกษาสมาชิกสมาคมผู้ดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมแห่งประเทศไทย ในเขตกรุงเทพมหานคร |
72 |
สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุในอาคารชุด : กรณีศึกษา อาคารชุดในแขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร |
73 |
ปัจจัยที่ทำให้เกิดหนี้ค้างชำระของสินเชื่อที่อยู่อาศัยในแต่ละระดับ LTV : กรณีศึกษา ธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง |
ปี พ.ศ. 2551 |
74 |
สภาพการอยู่อาศัยของผู้อยู่อาศัยตึกแถวในพื้นที่เขตพาณิชย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: กรณีศึกษาบริเวณเชียงกงและสวนหลวง |
75 |
สภาพการอยู่อาศัยของผู้อยู่อาศัยตึกแถว ในพื้นที่เขตพาณิชย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : กรณีศึกษาบริเวณเซียงกงและสวนหลวง |
ปี พ.ศ. 2550 |
76 |
การบริหารจัดการงานก่อสร้างโครงการบ้านมั่นคง : กรณีศึกษา โครงการนำร่องในเขต กรุงเทพมหานคร |
77 |
การประเมินที่อยู่อาศัยกึ่งสำเร็จรูปโครงการอาคารชุดเอื้ออาทร : กรณีศึกษาโครงการบ้านเอื้ออาทรบางโฉลง (ระยะ 1-2) จังหวัดสมุทรปราการ |
78 |
ปัจจัยทางกายภาพที่มีผลต่อการเลือกอาคารชุดพักอาศัยริมแม่น้ำเจ้าพระยา : กรณีศึกษาเขตคลองสาน |
79 |
การปรับปรุงซ่อมแซมบ้านผู้สูงอายุตามโครงการนวัตกรรมผู้สูงอายุ : กรณีศึกษา ผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อยในกรุงเทพมหานคร |
ปี พ.ศ. 2549 |
80 |
มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัย และสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุ |
81 |
สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุชาวญี่ปุ่นในสถานที่พักเพื่อการท่องเที่ยวพำนักระยะยาว : กรณีศึกษาโครงการริเออิ ลุมพินี เรสซิเดนซ์ กรุงเทพมหานคร |
82 |
การเปรียบเทียบการก่อสร้างบ้านเดี่ยว 2 ชั้น ด้วยชิ้นส่วนสำเร็จรูปเสา-คาน กับการก่อสร้างระบบเดิม |
83 |
การเตรียมการด้านที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่อาศัยในอาคารชุดพักอาศัยของเคหะชุมชนการเคหะแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร |
84 |
การเตรียมการด้านที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการในกรุงเทพมหานคร |
ปี พ.ศ. 2548 |
85 |
การศึกษาเปรียบเทียบระบบการก่อสร้างสำเร็จรูประบบเสาและคาน และระบบผนังรับน้ำหนักที่นำมาใช้ในการก่อสร้างที่อยู่อาศัยประเภทบ้านเรือนแถว : กรณีศึกษา หมู่บ้านกานดา สมุทรสาคร |
86 |
การศึกษามาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัย และสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุ |
ปี พ.ศ. 2547 |
87 |
การใช้พื้นที่ภายนอกอาคารในโครงการที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาสถานสเคราะห์คนชราบ้านบางแค กรุงเทพมหานคร |
88 |
สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุในอาคารสูง : กรณีศึกษาอาคารสวางคนิเวศ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ |
89 |
การเปรียบเทียบระบบหล่อ ณ สถานที่ก่อสร้าง กับหล่อที่โรงงาน ของระบบผนัง ค.ส.ล. รับน้ำหนัก : กรณีศึกษา ที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อย โครงการเอื้ออาทรประชานิเวศน์ และโครงการเอื้ออาทรหัวหมาก กรุงเทพมหานคร |
90 |
แนวทางการแก้ปัญหากฎหมายที่ส่งผลกระทบต่อการฟื้นฟูโครงการขนาดใหญ่ที่ยุติการก่อสร้างในเขตกรุงเทพมหานคร |
91 |
การนำวิธีก่อสร้างกึ่งสำเร็จรูปมาใช้กับโครงการบ้านเดี่ยวสำหรับผู้มีรายได้น้อย : กรณีศึกษาโครงการบ้านเอื้ออาทร รังสิตคลอง 3 จังหวัดปทุมธานี |
ปี พ.ศ. 2545 |
92 |
การศึกษาการใช้แบบจำลองเสมือนจริงในการเพิ่มความสามารถในการสื่อสารในช่วงการออกแบบ |
93 |
แนวทางการออกแบบงานก่อสร้างบ้านแถวด้วยระบบประสานทางพิกัด |
94 |
การนำตู้คอนเทนเนอร์มาใช้เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษาโครงการทวีทรัพย์ อพาร์ทเมนต์ |
95 |
การศึกษาและเปรียบเทียบการก่อสร้างบ้านพักอาศัย ด้วยชิ้นส่วนคอนกรีตสำเร็จรูประบบเสา-คาน กับการก่อสร้างแบบทั่วไป : กรณีศึกษา หมู่บ้านคุณาลัย บางขุนเทียน |
96 |
การประเมินที่อยู่อาศัยก่อสร้างระบบกึ่งสำเร็จรูป โครงสร้างเสา-คานเหล็ก ผนังคอนกรีตมวลเบา : กรณีศึกษา บ้านมณีแก้ว จังหวัดชลปุรี |
97 |
การวิเคราะห์เงื่อนไขในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยโดยใช้ชิ้นส่วนเสา และคานคอนกรีตสำเร็จรูป และผนังไฟเบอร์ซีเมนต์กลวง : กรณีศึกษาโครงการพิมานชล 2 เฟส 3 จ. ขอนแก่น |
98 |
เงื่อนไขด้านเทคนิคในการก่อสร้างอาคารหอพักขนาด 3 ชั้นด้วยโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ : กรณีศึกษา หอพักนักศึกษาโครงการยูเซ็นเตอร์ บริเวณถนนจุฬาลงกรณ์ ซอย 42 กรุงเทพมหานคร |
99 |
สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุในที่อยู่อาศัยแบบแฟลต เคหะชุมชนดินแดง 1 และ 2 กรุงเทพมหานคร |
ปี พ.ศ. 2544 |
100 |
การก่อสร้างที่อยู่อาศัยของผู้ที่ย้ายจากชุมชนใต้สะพาน |
ปี พ.ศ. 2535 |
101 |
ระบบการก่อสร้างอุตสาหกรรมสำหรับที่พักอาศัยของผู้มีรายได้ปานกลาง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
102 |
ระบบการก่อสร้างอุตสาหกรรมสำหรับที่พักอาศัยของผู้มีรายได้ปานกลาง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |