ปี พ.ศ. 2560 |
1 |
การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของกระทุ |
2 |
การประยุกต์ใช้สารสกัดกระทุเป็นผลิตภัณฑ์ยาเฉพาะที่ภายนอกและผลิตภัณฑ์ในช่องปาก |
3 |
การศึกษาทางเคมีของกระทุ |
4 |
การคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียที่ผลิตสารลดแรงตึงผิวชีวภาพจากอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน การผลิต การทำบริสุทธิ์ และคุณสมบัติของสารลดแรงตึงผิวชีวภาพ |
ปี พ.ศ. 2557 |
5 |
การพัฒนายาเหน็บช่องคลอดต้านเชื้อราลอโซนเมทิลอีเทอร์ |
6 |
การใช้โปรไบโอติกส์ Lactobacillus plantarum DW12 และเซรามิกเมมเบรนระดับไมโครสำหรับการผลิตเครื่องดื่มน้ำสกัดมะขามป้อมเสริมสุขภาพ |
ปี พ.ศ. 2556 |
7 |
องค์ประกอบทางเคมีจากกิ่งมะสัง |
8 |
แอฟฟินิตีไบโอเซนเซอร์แบบไม่ติดฉลากสำหรับไวรัสตัวแดงดวงขาว |
9 |
การนำโปรตีนลูกผสมของยีนกุ้งและไคโตซานมาพัฒนาวัสดุทางทันตกรรม |
10 |
การประยุกต์ใช้ดีเอ็นเอวัคซีนจากโปรตีนกระตุ้นเซลล์จับกินสิ่งแปลกปลอม |
11 |
การประยุกต์ใช้ Laminin receptor ป้องกันไวรัสโรคกุ้ง |
12 |
การพัฒนาระบบอบแห้งสำหรับยางแผ่นผึ่งแห้งด้วยพลังงานทดแทนความร้อนร่วม |
13 |
สารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพจากสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังและจุลินทรีย์ในทะเลไทย |
14 |
การศึกษาฤทธิ์ต้านเอนไซม์ HIV-1 protease และ HIV-1 integrase ของสมุนไพรในตำรับยาอายุวัฒนะ |
15 |
ผลของเมลามีนต่อการเจริญเติบโตและสุขภาพของสัตว์น้ำเศรษฐกิจของไทย |
16 |
การขยายยางพันธุ์สายต้นพันธุ์ดี และการอนุรักษ์เชื้อพันธุ์ด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพ |
17 |
การพัฒนาสารเคลือบนาโนคอมโพสิต (Ti, Al, Si)(C, N) ด้วยวิธีพีอีซีวีดี เพื่อการยืดอายุการใช้งานของแม่พิมพ์สำหรับการหล่อขึ้นรูปอลูมิเนียม |
18 |
กระบวนการปรับปรุงสมบัติของโลหะนอกกลุ่มเหล็กที่ขึ้นรูปโดยวิธีการหล่อกึ่งของแข็งแบบ GISS ด้วยความร้อน |
19 |
วิธีการรวมข้อมูลแบบหลายตัวตรวจจับประยุกต์ใช้เพื่อการตรวจพบและรู้จำพฤติกรรมของมนุษย์ |
20 |
การศึกษากระบวนการอบแห้งไม้ยางพาราแบบต่อเนื่องโดยวิธีการทดลอง |
21 |
การประมวลผลภาพเคลื่อนไหวสำหรับวิเคราะห์รูปแบบการทำกิจกรรมในผู้สูงอายุ ภายใต้ ชุดโครงการวิจัยเทคโนโลยีอำนวยความสะดวกและอุปกรณ์ฟื้นฟูสำหรับผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส |
22 |
การยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคในผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแช่แข็งโดยแบคเทอริโอซินที่ผลิตจากแบคทีเรียแลกติกที่แยกได้จากป่าชายเลน |
23 |
การเตรียมและการแยกเปปไทด์ที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพจากโปรตีนไฮโดรไลเสตของเครื่องในปลาตาหวานหนังหนา |
24 |
การใช้สารประกอบฟินอลิกในการลดปฏิกิริยาออกซิเดชันของไขมันและ การยืดอายุการเก็บรักษาปลาและผลิตภัณฑ์ |
25 |
การโคลนยีน การทำบริสุทธิ์ สมบัติของเอนไซม์และการใช้ไลเปสจากBurkholderia sp. EQ3 ในการสังเคราะห์แวกซ์เอสเทอร์จากน้ำมันปลา |
26 |
การพัฒนาสายพันธุ์เชื้อจุลินทรีย์เพื่อใช้ในการผลิตเอนไซม์ทรานส์กลูตามิเนสในอาหารเหลวสูตรดัดแปลงจากวัสดุเศษเหลือจากกระบวนการแปรรูปอาหารทะเล และการประยุกต์ใช้ในการแปรรูปอาหาร |
27 |
การใช้สารประกอบฟีนอลิกในการยับยั้งเอนไซม์พอลิฟีนอลออกซิเดสและ เมลาโนซิสในกุ้งขาว |
28 |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมเสริมพรีไบโอติกและโพรไบโอติก |
29 |
การทดสอบการอยู่รอดและคุณสมบัติทางชีวภาพของโพรไบโอติกและพรีไบโอติกในเจลาตินแคปซูล |
30 |
การผลิตพรีไบโอติกจากแก้วมังกรและการประเมินคุณสมบัติการเป็นพรีไบโอติกในระบบจำลองลำไส้ใหญ่มนุษย์ |
31 |
การพัฒนาโพรไบโอติกสายพันธุ์พิเศษเสริมในโยเกิร์ตและนมผงเพื่อป้องกันฟันผุ |
32 |
การเก็บเกี่ยวโปรตีนและการผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากโปรตีนถั่วเขียวด้วยเทคโนโลยีเมมเบรน |
33 |
การผลิตเมมเบรนสำหรับเซลล์เชื้อเพลิงโดยประยุกต์ใช้พอลิเมอร์ชีวภาพ |
34 |
เทคโนโลยีเมมเบรนสำหรับสิ่งแวดล้อม พลังงานและผลิตภัณฑ์ชีวภาพ |
35 |
การผลิตแผ่นพอลิเมอร์เมมเบรนสำหรับการแยกแก๊สและอนุภาคนาโนชีวภาพด้วยเทคนิคการกัดรอยนิวเคลียร์ |
36 |
กาวจากน้ำยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกับพอลิเมทิลเมทาคริเลท ที่สามารถเกิดปฏิกิริยาเชื่อมโยงได้ที่อุณหภูมิห้อง |
37 |
การพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์จากสารสกัดกระทุสำหรับใช้รักษาสิว |
38 |
การผลิตกล้าเชื้อในรูปแผ่นแห้งเพื่อการผลิตแหนมกาบา (?-aminobutyric acid) |
39 |
ผลการใช้กากตะกอนน้ำมันปาล์มร่วมกับน้ำมันปาล์มดิบเพื่อผลิตอาหารเสริมไขมันไหลผ่านต่อองค์ประกอบน้ำนมของโคนม |
ปี พ.ศ. 2555 |
40 |
สูตรสำเร็จของจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ Streptomyces sp. ในการยับยั้งโรครากขาวของยางพารา |
ปี พ.ศ. 2554 |
41 |
ผลของการให้กินสารสกัดด้วยเอธิลอะซิเตทจากใบมะยมเป็นระยะเวลานานต่อการเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจและหลอดเลือดในหนูแร็ทเพศผู้วัยกลางชีวิต |
42 |
การเชื่อมในสถานะกึ่งของแข็งของอะลูมิเนียมผสมซึ่งได้จากการหล่อกึ่งของแข็ง |
ปี พ.ศ. 2553 |
43 |
การใช้เอนไซม์ไรโบนิวคลีเอสชอบเกลือจากแบคทีเรียเพื่อเพิ่มกลิ่นและรสชาติของน้ำปลา |
44 |
การเพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์แหนมโดยใช้กล้าเชื้อแลกติกแอสิดแบคทีเรียที่ผลิตกาบา (?-aminobutyric acid) |
45 |
เทคโนโลยีการวิเคราะห์สารปริมาณน้อยและเซนเซอร์ |
46 |
สารต้านจุลินทรีย์จากหญ้าทะเลที่คัดเลือกและเชื้อราเอนโดไฟท์จากหญ้าทะเล |
47 |
สารต้านจุลินทรีย์จากเบญกานี แปรงล้างขวด และเสม็ด |
48 |
การศึกษาทางเคมีของรากลูกผสมระหว่างขนุนและจำปาดะ |
49 |
ความหลากหลายทางชีวภาพและนิเวศวิทยาการหากินของค้างคาวในคาบสมุทรไทยโดยเฉพาะค้างคาวที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศและการอนุรักษ์ |
50 |
ชีวภูมิศาสตร์ของปะการังในภูมิภาคอันดามันแห่งประเทศไทย |
51 |
ความหลากชนิดและชีวภูมิศาสตร์ ของสัตว์กลุ่มหอยในคาบสมุทรไทย |
52 |
ความหลากหลายทางชีวภาพและชีวภูมิศาสตร์ของแมลงในคาบสมุทรไทย |
53 |
ความหลากชนิดและชีวภูมิศาสตร์ ของสาหร่ายทะเลขนาดใหญ่และหญ้าทะเลในคาบสมุทรไทย |
54 |
ทรัพยากรพรรณไม้ตามชายฝั่ง และ พฤกษภูมิศาสตร์ของพรรณไม้ชายฝั่งในคาบสมุทรไทยโดยอิงรูปแบบการกระจายพันธุ์ทางพฤกษภูมิศาสตร์ของพรรณไม้เด่นบางกลุ่ม |
55 |
ความหลากชนิดและชีวภูมิศาสตร์ ของ โรติเฟอร์และครัสเตเชียนขนาดเล็ก (คลาโดเซอรา และโคพีโพดา) ในคาบสมุทรไทย |
56 |
การแสดงออกของโปรตีนที่สัมพันธ์กับเชื้อก่อโรคและ/หรือพัฒนาการเจริญพันธุ์ของ รังไข่ในกุ้งแชบ๊วย |
57 |
การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ร่วมกับสารเคมีในการควบคุมโรคเน่าราเขียวและเหนี่ยวนำการแสดงออกของยีนบนผลส้มหลังการเก็บเกี่ยว |
58 |
ทรัพยากรชีวภาพ และชีวภูมิศาสตร์ของคาบสมุทรไทย |
59 |
ผลของฟอติลินและกลุ่มโปรตีนอื่นๆจากกุ้งต่อการเพิ่มจำนวนของไวรัสตัวแดงดวงขาวในเซลล์สายพันธุ์ Sf9 |
60 |
การพัฒนาระบบให้ความร้อนสำหรับการอบแห้งและรมควันยางแผ่น |
61 |
การพัฒนาระบบผลิตยางแผ่นรมควันประสิทธิภาพสูงด้วยพลังงานทดแทนสำหรับเกษตรกรในทุกภูมิภาค |
62 |
ทอร์โมพลาสติกยางธรรมชาตชนิดใหม่จากไนลอนและพอลิเอสเทอร์ |
63 |
อิทธิพลของระบบการวัลคาไนซ์ต่อสมบัติของเทอร์ โมพลาสติกวัลคาไนซ์ และการเตรียมเทอร์โมพลาสติกวัลคาไนซ์ที่มีสมบัติเฉพาะจากการเบลนด์ยางธรรมชาติกับพอลิโพรไพลีน |
64 |
การขยายขอบเขตการประยุกต์ใช้ยางพาราในอุตสาหกรรม |
65 |
การประยุกต์ใช้ระบบนำส่งยาสำหรับวิศวกรรมเนื้อเยื่อกระดูกและการนำส่งยีน |
66 |
การพัฒนาการนำส่งยาต้านอักเสบสู่ลำไส้ใหญ่ส่วนโคลอนโดยการเชื่อมต่อกับไคโตแซน หรือ HPC |
67 |
ศึกษาอันตรกิริยาเสริมของสารผสมพอลิแซคคาไรด์ด้วยการไหล, DSC และ NMR เพื่อใช้ในระบบนำส่งยาแบบเนิ่น |
68 |
แผ่นแปะกระพุ้งแก้มที่มีนอร์ทริปไทลีนเป็นส่วนประกอบและเปคตินเป็นสารก่อฟิล์มยึดเกาะเพื่อการลดละเลิกบุหรี่ |
69 |
โพลอกซาเมอร์และพอลิเมอร์ที่มีรอยพิมพ์ประทับโมเลกุลคอมโพสิตนาโนพาร์ทิเคิลเพื่อเป็นตัวพาสำหรับใช้ประโยชน์ในการควบคุมการนำส่งยา |
70 |
ไมโครเจลที่บรรจุพอลิเมอร์ที่มีรอยพิมพ์ประทับโมเลกุลนาโนพาร์ทิเคิลที่อยู่บนไมโคร พาร์ทิเคิลเพื่อการนำส่งยาผ่านทางผิวหนัง |
71 |
การพัฒนาสูตรตำรับยาสูดอัดไอกำหนดขนาดบูดีโซไนด์ชนิดแขวนลอย |
72 |
ผลของการออกแบบอุปกรณ์นำส่งต่อประสิทธิภาพการนำส่งยาสูดแบบผงแห้งโดยใช้การจำลองจนศาสตร์ของไหลด้วยคอมพิวเตอร์ |
73 |
การศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อฉวยโอกาสของสมุนไพรในตำรับยาอายุวัฒนะ |
74 |
ศักยภาพของสมุนไพรอายุวัฒนะต่อการรักษาโรคติดเชื้อวัณโรค |
75 |
การวิจัยสมุนไพรในตำรับยาอายุวัฒนะเพื่อเป็นทางเลือกในการรักษาโรคเอดส์ |
76 |
โรคสเตรปโตคอคโคซีสในปลานิล (Orechromis niloticus)ที่มีสาเหตุจากแบคทีเรีย Streptococcus agalactiae ซีโรไทป์ Ia และซีโรไทป์ III และการผลิตวัคซีนต้านทานโรค |
77 |
การประเมินศักยภาพพันธุ์ยางพาราที่ให้ผลผลิตน้ำยางสูงจากแปลงเกษตรกรในภาคใต้ |
78 |
การเพิ่มผลผลิตน้ำยางโดยใช้นวัตกรรมระบบกรีดแบบสองรอยกรีด |
79 |
การสร้างความเข้มแข็งการผลิตยางพาราของชาวสวนยางในภาคใต้ของ ประเทศไทย |
80 |
การวิจัยเมล็ดพันธุ์ยางเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตต้นตอสำหรับการขยายพันธุ์ |
81 |
การคัดเลือกต้นตอยางพาราโดยใช้เทคนิคมินิไรโซตรอน |
82 |
ระบบผลิตน้ำมันไบโอดีเซลแบบสองขั้นตอนจากน้ำมันปาล์มดิบชนิดกรดสูงขนาด 100 ลิตร |
83 |
การพัฒนาโมเดลต้นทุนการผลิตชิ้นส่วนโลหะด้วยกระบวนการโลหะกึ่งของแข็ง |
84 |
ระบบผลิตไบโอดีเซลแบบต่อเนื่องจากน้ำมันปาล์มดิบชนิดกรดไขมันอิสระสูงด้วยคลื่นอัลตราโซนิค |
85 |
ศึกษาโครงสร้างทางจุลภาคและสมบัติทางกลของการเชื่อมอลูมิเนียมผสม ซึ่งหล่อโดยเทคโนโลยีการหล่อกึ่งของแข็ง ด้วยกรรมวิธีการเชื่อมเสียดทานแบบกวน |
86 |
การศึกษาสมบัติการคืบของโลหะกึ่งของแข็งที่ผลิตโดยวิธี GISS |
87 |
การขึ้นรูปแบบกึ่งของแข็งโดยใช้แรงดันต่ำของโลหะนอกกลุ่มเหล็ก |
88 |
เทคโนโลยีการขึ้นรูปชิ้นส่วนโลหะด้วยกระบวนการโลหะกึ่งของแข็งโดยวิธี GISS |
89 |
การขึ้นรูปแบบกึ่งของแข็งโดยใช้แรงดันสูงของโลหะนอกกลุ่มเหล็ก |
90 |
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของรูปแบบกิจกรรมในผู้สูงอายุด้วยโมเดลเมฆ |
91 |
ระบบสเตอริโอวิชันและระบบเสียงสามมิติ เพื่อช่วยในการเดินทางของผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีปัญหาทางสายตา |
92 |
การประยุกต์แนวคิดแบบลีนกับการจัดการโซ่อุปทานอุตสาหกรรมยางพารา |
93 |
การกำจัดแอมโมเนียในอากาศเสียจากโรงงานผลิตน้ำยางข้นด้วยปฏิกรณ์โฟโตคะตะไลติกส์ |
94 |
การปรับปรุงสมบัติของน้ำมันปาล์มเพื่อใช้เป็นสารตัวพาในหมึกพิมพ์ฐานน้ำมันทดแทนน้ำมันปิโตรเลียม |
95 |
การพัฒนาการผลิตบิวทานอลจากเส้นใยปาล์มที่ผ่านการย่อยแล้วโดยใช้เชื้อ Clostridium sp. เปรียบเทียบกับการผลิตบิวทานอลจากเส้นใยปาล์มที่ไม่ได้ผ่านการย่อยโดยใช้เชื้อผสมระหว่าง Clostridium sp. และ Bacillus sp. |
96 |
การสกัด การแยก และการประยุกต์ใช้สารลิกนินจากทะลายปาล์มในการผลิตสารเคลือบผิวกระดาษลูกฟูก |
97 |
การผลิตน้ำมันและเอนไซม์ไลเปสด้วยเชื้อ Yarrowia lipolytica โดยใช้กลีเซอรอลดิบ และการประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิตไบโอดีเซล |
98 |
อาหารเสริมและอาหารสุขภาพ: นวัตกรรมใหม่ของผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ |
99 |
การใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มเพื่อผลิตสาร ออกฤทธิ์ชีวภาพด้วยกระบวนการหมัก |
100 |
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มโดยใช้ปฏิกิริยาทรานซ์เอสเทอริฟิเคชั่นที่มีเซลล์ยีสต์ผลิตไลเปสที่ถูกตรึงเป็นตัวเร่ง |
101 |
ไบโอมิเมติกสคาฟโฟล์ด ของ เมทธิลเซลลูโลส/คอลลา เจนจากปลาทะเล |
102 |
สคาฟโฟลด์คอลลาเจนจากปลาทะเลสำหรับวิศวกรรมเนื้อเยื่อกระดูก |
103 |
การศึกษาสมบัติการเกิดฟิล์มและการปรับปรุงสมบัติของฟิล์มเจลาตินจากหนังปลาหมึกกระดอง |
104 |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาทูน่าบรรจุกระป๋องเสริมพรีไบโอติก |
105 |
การผลิตฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์ด้วยเอนไซม์ฟรุกโตซิลทรานสเฟอเรสจากแก่นตะวัน |
106 |
การผลิตสตาร์ชที่ทนต่อการย่อยด้วยเอ็นไซม์จากสตาร์ชเมล็ดขนุน สตาร์ชข้าว และสตาร์ชถั่วเขียว และการตรวจสอบคุณสมบัติพรีไบโอติก |
107 |
การใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือในการผลิตอาหารทะเลในอาหารสัตว์เลี้ยงที่เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม |
108 |
การพัฒนาและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเสริมสุขภาพเสริมโพรโบโอติกและพรีไบโอติก |
109 |
การปรับปรุงสมบัติของฟิล์มย่อยสลายจากสตาร์ชข้าวเฉี้ยงโดยสารครอสลิงและยูวีทรีทเมนต์ |
110 |
การพัฒนาเครื่องมือวัด IV Curve สำหรับทดสอบเซลล์เชื้อเพลิงชนิดเมมเบรนแลก เปลี่ยนโปรตอน |
111 |
การพัฒนาเซรามิกเมมเบรนระดับไมโครสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพ น้ำหมักชีวภาพจากพืช |
ปี พ.ศ. 2551 |
112 |
External Project for Testing |
ปี พ.ศ. ไม่ระบุ |
113 |
การพัฒนาสาธิตระบบอบแห้งยางเอส ที อาร์ และ ยางสกิมเพื่อผลิตยางแท่งคุณภาพ |
114 |
มะหาดและเพชรสังฆาตเพื่อใช้ในโรคติดเชื้อที่พบบ่อยในช่องปาก |
115 |
ผลของฤดูกาลต่อการแข็งตัวระหว่างการเก็บของยางแผ่นรมควัน |
116 |
การพัฒนาชุดทดสอบฟอร์มาลิน |
117 |
ความเสถียรของปาล์มน้ำมันพันธุ์ทรัพย์ ม.อ.1 |
118 |
การเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการการผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มโดยใช้สารลดแรงตึงผิวชีวภาพ |