ปี พ.ศ. 2554 |
1 |
ผลเชิงเร่งปฏิกิริยาของโลหะแอลคาไล และแอลคาไลน์เอิร์ทที่ดูดซับบนวัสดุเบดต่อการรีฟอร์มน้ำมันทาร์ด้วยไอน้ำ |
2 |
ผลของตัวรองรับต่อแกซิฟิเคชันของพลาสติกบนตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิล |
3 |
ผลของตัวแปรดำเนินการต่อการปล่อยแก๊สระหว่างการเผาไหม้ร่วมของถ่านหินและชีวมวลในหม้อกำเนิดไอน้ำฟลูอิไดซ์เบสแบบหมุนเวียน |
ปี พ.ศ. 2553 |
4 |
แกซิฟิเคชันด้วยไอน้ำและออกซิเจนของพลาสติกผสมในเครื่องปฏิกรณ์เบดนิ่ง |
5 |
การออกแบบไซโคลนสำหรับอนุภาคของแข็งในฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน |
6 |
การผลิตไอน้ำจากเตาเผาฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน |
7 |
แกซิฟิเคชันด้วยไอน้ำและออกซิเจนของพลาสติกผสมในเครื่องปฏิกรณ์เบดนิ่ง |
8 |
การออกแบบไซโคลนสำหรับอนุภาคของแข็งในฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน |
ปี พ.ศ. 2552 |
9 |
ผลของชนิดชีวมวลต่อการปล่อยไนโตรเจนออกไซด์และไนตรัสออกไซด์ในเตาเผาฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน |
10 |
แกซิฟิเคชันของพลาสติกโดยใช้ไพโรไลซ์ชาร์จากชีวมวล |
11 |
ผลของชนิดชีวมวลต่อการปล่อยไนโตรเจนออกไซด์และไนตรัสออกไซด์ ในเตาเผาฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน |
12 |
แกซิฟิเคชันของพลาสติกโดยใช้ไพโรไลซ์ชาร์จากชีวมวล |
ปี พ.ศ. 2551 |
13 |
การจำลองซีเอฟดีของแกซิฟายเออร์ฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน |
ปี พ.ศ. 2550 |
14 |
ผลของแร่ธาตุต่อการสลายตัวด้วยความร้อนของชีวมวล |
15 |
แก๊สสังเคราะห์จากแกซิฟิเคชันร่วมกับการเผาไหม้ของถ่านหินและชีวมวลในฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน |
16 |
การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลที่มีเสถียรภาพสำหรับการแตกตัวของน้ำมันทาร์ในแกซิฟิเคชันด้วยไอน้ำของชีวมวล |
17 |
ผลขององค์ประกอบทางเคมีของชีวมวลต่อไพโรไลซิสและการเผาไหม้ |
18 |
แก๊สสังเคราะห์จากขยะพลาสติกโดยแกซิฟิเคชันด้วยไอน้ำและออกซิเจน |
19 |
การปล่อยไนโตรเจนออกไซด์และไนตรัสออกไซด์จากการเผาไหม้ร่วมของถ่านหินและชีวมวลในฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน |
ปี พ.ศ. 2549 |
20 |
ผลของแร่ธาตุต่อแกซิฟิเคชันร่วมของถ่านหินและชีวมวล |
21 |
การผลิตแก๊สไฮโดรเจนเข้มข้นจากแกซิฟิเคชันของชีวมวลโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา Ni/K2CO3/y-AI2O3 |
ปี พ.ศ. 2548 |
22 |
ระบบควบคุมอุณหภูมิของเตาเผาฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน |
ปี พ.ศ. 2547 |
23 |
การควบคุมการปล่อยแก๊สของการเผาไหม้ถ่านหินและชีวมวลในฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน |
24 |
ไพโรไลซิสของชีวมวลโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาในฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน |
25 |
พฤติกรรมการไหลของแก๊สและของแข็งในฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียนที่มีลูปซีล |
26 |
การเผาไหม้เชื้อเพลิงผสมถ่านหินและชีวมวลในฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน |
ปี พ.ศ. 2546 |
27 |
อุทกพลศาสตร์ของอนุภาคถ่านหินในเครื่องฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน |
28 |
อุทกพลศาสตร์ของอนุภาคถ่านหินในเครื่องฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน |
ปี พ.ศ. 2545 |
29 |
การออกแบบฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียน: ผลของลักษณะแอลวาล์วในการไหลที่อุณหภูมิห้อง |
ปี พ.ศ. 2544 |
30 |
ความสัมพันธ์ระหว่างเสถียรภาพของฟองและประสิทธิภาพของระบบฟองลอย |
31 |
การวัดโฮลด์อัพของเฟสกระจายโดยเทคนิคอัลทราโซนิก สำหรับการสกัดอะซิโตนในเครื่องสกัดแบบจานหมุน |
ปี พ.ศ. 2543 |
32 |
การประยุกต์การควบคุมด้วยแบบจำลองเจเนริกร่วมกับคาลมานฟิลเตอร์ สำหรับเครื่องปฏิกรณ์ถังกวนแบบต่อเนื่องที่มีปฏิกิริยาคายความร้อน |
ปี พ.ศ. 2542 |
33 |
เทคนิคอัลทราโซนิกสำหรับวัดค่าโฮลด์อัพในคอลัมน์สกัดแบบจานหมุน |
ปี พ.ศ. 2539 |
34 |
การประยุกต์โมเดลออบเซิร์ฟเวอร์ในการควบคุมการกลั่นแบบกะ ของสารสององค์ประกอบ |
ปี พ.ศ. 2537 |
35 |
ระบบควบคุมการเผาไหม้ก๊าซในเตาเผาแบบดราฟท์ดาวน์ด้วยคอมพิวเตอร์ |
ปี พ.ศ. 2534 |
36 |
แบบจำลองของการก๊าซซิฟิเคชันจากถ่านไม้ในฟลูอิไดซ์เบด |
ปี พ.ศ. 2533 |
37 |
การควบคุมการเผาไหม้ถ่านหินในฟลูอิไดซ์เบดด้วยไมโครคอมพิวเตอร์ |
ปี พ.ศ. 2532 |
38 |
การดูดซึมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในคอลัมน์แบบพัลส์ |
ปี พ.ศ. 2529 |
39 |
การศึกษาการนำถ่านหินบดละเอียดมาใช้ในเตาเผา |
ปี พ.ศ. 2528 |
40 |
ระบบการใช้ถ่านลิกไนท์โดยการเผาไหม้ในเตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบด : รายงานวิจัย |
41 |
การศึกษาการนำถ่านบดละเอียดมาใช้ในเตาเผา : รายงานผลการวิจัย |
ปี พ.ศ. 2526 |
42 |
การผลิตทองแดงจากแร่ทองแดงเปอร์เซนต์ต่ำ โดยกรรมวิธีทางไฮโดรเมตัลเลอยี |
43 |
การวัดสัมประสิทธิ์การถ่ายเทมวลสารในคอลัมน์สกัดของเหลวด้วย ของเหลวแบบพ่นกระจาย |
ปี พ.ศ. 2525 |
44 |
อิทธิพลของสารชอบผิวต่อการถ่ายเทออกซิเจนในถังกวน |