ปี พ.ศ. 2560 |
1 |
การผลิตปุ๋ยชีวภาพจากของเสียกากเมล็ดสบู่ดำ โดยวิธีการหมักแบบแห้ง |
ปี พ.ศ. 2557 |
2 |
การคัดเลือกและทดสอบความทนเค็มของสบู่ดำในสภาพแปลงทดสอบ |
3 |
การทดสอบพันธุ์สบู่ดำคัดเลือกที่ตอบสนองต่อ Benzyladenine |
4 |
การปรับปรุงพันธุ์สบู่ดำ (Jatropha curcas L.) แบบบูรณาการ |
5 |
การผสมข้ามสกุลและข้ามชนิดเพื่อการปรับปรุงพันธุ์สบู่ดำ |
6 |
การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตเพื่อเพิ่มผลผลิตสบู่ดำในแปลงสาธิตสบู่ดำ จ.นครปฐม |
7 |
การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตเพื่อเพิ่มผลผลิตสบู่ดำในแปลงสาธิตสบู่ดำ จ.นครราชสีมา |
8 |
ผลการเปลี่ยนแปลงการแสดงออกของยีน APETALA2 ต่อเมล็ดสบู่ดำ |
9 |
ผลของ BA และ Pacrobutrazol ต่อการออกดอกและปริมาณผลผลิตของสบู่ดำในแปลงเพาะปลูก อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม |
10 |
โครงการวิจัยและพัฒนาเพิ่มผลผลิตของต้นสบู่ดำเพื่อเป็นแหล่งพลังงานทดแทนในอนาคต ระยะที่ 2 |
ปี พ.ศ. 2556 |
11 |
การจัดทำมาตรฐานวิธีผลิตไบโอดีเซลเชิงพาณิชย์จากนำ้มันพืชใช้แล้วสำหรับอุตสาหกรรมขนาดเล็ก และศึกษาคุณภาพไบโอดีเซลระหว่างการเก็บรักษาระยะยาว |
12 |
การทดสอบพันธุ์สบู่ดำ |
ปี พ.ศ. 2555 |
13 |
Extension Project for WG1 (plantaton and production method) of collaborative research and development project on Jatropha biodiesel for diesel vehicles"" |
14 |
การศึกษาความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ของโรงงานไบโอดีเซลเชิงพาณิชย์จากสาหร่าย |
15 |
งานวิจัยเรื่องดินและปุ๋ยเพื่อการปลูกสบู่ดำ |
16 |
นวัตกรรมการผลิตนำมันจากจุลินทรีย์โดยใช้กลีเซอรอลที่ได้จากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล |
17 |
ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสบู่ดำ |
18 |
โครงการลดต้นทุนการผลิตไบโอดีเซลในโรงงานผลิตไบโอดีเซลเชิงพาณิชย์ |
19 |
โครงการวิจัยและพัฒนาเพิ่มผลผลิตของต้นสบู่ดำเพื่อเป็นแหล่งพลังงานทดแทนในอนาคต |
20 |
โครงการเคยู-ไบโอดีเซล |
21 |
อิทธิพลของโลหะทองแดง น้ำ และ TBHQ ต่อสมบัติไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มโอเลอิน น้ำมันสบู่ดำ และ น้ำมันทานตะวัน |
ปี พ.ศ. 2554 |
22 |
โครงการวิจัยเพิ่มผลผลิตของต้นสบู่ดำเพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต |
ปี พ.ศ. 2553 |
23 |
Mass balance and biodiesel process improvement |
24 |
โครงการวิจัย สาธิต และพัฒนาการใช้ไบโอดีเซลชุมชนเพื่อลดต้นทุนการผลิต (ศึกษา วิจัย พัฒนา สาธิตและจัดทำเครทาองต้นแบบฯ) |
25 |
โครงการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพไบโอดีเซลและการลดของเสียจากขบวนการผลิต (พัฒนาคุณภาพการผลิตไบโอดีเซลตามมาตรฐานเชิงพาณิชย์) |
ปี พ.ศ. 2552 |
26 |
Collaborative Research and Developmen Project on Jatropha Biodiesel for Diesel Vehicles |
27 |
การทดสอบกากสบู่ดำในรูปของปุ๋ยต่อผักชนิดต่างๆ |
28 |
หน่วยวิจัยเฉพาะด้านเทคโนโลยีสะอาดและการใช้ประโยชน์จากของเสีย |
29 |
โครงการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพไบโอดีเซลและการลดของเสียจากขบวนการผลิต (พัฒนาคุณภาพการผลิตไบโอดีเซลตามมาตรฐานเชิงพาณิชย์) |
30 |
เครื่องควบคุมความชื้นสำหรับการผลิตไลเปส |
31 |
การวิเคราะห์วิถีทางปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชั่นของน้ำมันปาล์มโดยใช้เบสเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา |
32 |
การใช้สถิติในการหาปัจจัยที่เหมาะสมของการผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันทานตะวันและเอนไซม์ไลเปสที่ถูกตรึง |
33 |
การศึกษาเสถียรภาพต่อการเกิดออกซิเดชันของไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำ |
ปี พ.ศ. 2551 |
34 |
การทดสอบกากสบู่ดำในรูปของปุ๋ยต่อผักชนิดต่างๆ |
35 |
การทดสอบเปรียบเทียบสายพันธุ์สบู่ดำที่เหมาะสมในการปลูกในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
36 |
การปรับปรุงความเสถียรภาพต่อการเกิดออกซิเดชันของไบโอดีเซลผสม ระหว่างไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำและจากน้ำมันมะพร้าว |
ปี พ.ศ. 2550 |
37 |
Collaborative Research and Developmen Project on Jatropha Biodiesel for Diesel Vehicles |
38 |
การปรับปรุงคุณภาพน้ำมันสบู่ดำด้วยปฏิกิริยาแตกตัว |
39 |
การผลิตเอนไซม์ไลเปสด้วยวิธีหมักแบบแห้ง |
40 |
การผลิตไบโอดีเซลจากสบู่ดำโดดยใช้ของผสมระหว่างเมทานอลและคาร์บอนไดออกไซด์ที่สภาวะเหนือจุดวิกฤต |
41 |
โครงการศึกษาและกำหนดรูปแบบการจัดการสบู่ดำเป็นเชื้อเพลิงอย่างครบวงจรของโครงการเคยู-ไบโอดีเซล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
42 |
โครงการสาธิตการผลิตไบโอเซลชุมชน โดยจัดทำต้นแบบผลิตไบโอดีเซลในประเทศสหภาพพม่าของโครงการเคยูไบโอดีเซล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
43 |
ศึกษาสังเคราะห์พอลิเมอร์ที่เหมาะสม ในการจับเอนไซม์ไลเปส |
44 |
การจัดการความปลอดภัยของหน่วยควบคุมไอระเหยน้ำมันเบนซินในคลังน้ำมันเชื้อเพลิง |
ปี พ.ศ. 2549 |
45 |
การจำลองปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชันสำหรับการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลด้วยวิธีMolecular modeling |
46 |
การประยุกต์การกลั่นแบบเกิดปฏิกิริยาเพื่อเพิ่มผลผลิตในการผลิตไบโอดีเซล |
47 |
การประเมินวัฏจักรชีวิตน้ำมันไบโอดีเซลจากสบู่ดำ |
48 |
การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์สำหรับปฏิกิริยาการผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำ |
49 |
การศึกษาสภาวะการตรึงเอนไซม์ไลเปสด้วยพอลิเมอร์ที่เหมาะสม |
50 |
การสังเคราะห์ไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มโดยตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ |
51 |
ปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันน้ำมันสบู่ดำโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ชนิด: SO2-4, ZrO2, CaSO4 |
52 |
การผลิตไบโอดีเซลจากสบู่ดำด้วยกระบวนการผลิตแบบสองขั้นตอน |
ปี พ.ศ. 2548 |
53 |
การศึกษาการหมักกากมันสำปะหลังในฟาร์ม |
54 |
การศึกษาการหมักกากมันสำปะหลังในฟาร์ม |
ปี พ.ศ. 2547 |
55 |
การออกแบบถังหมักสาโทสำหรับการผลิตในชุมชน |
56 |
โครงการวิจัยการควบคุมคุณภาพโคจิโดยใช้ระบบควบคุมอัตโนมัติแบบทำนาย |
ปี พ.ศ. 2546 |
57 |
การเตรียมเชื้อเพลิงไบโอดีเซลจากน้ำมันดอกทานตะวันและการปรับปรุงคุณสมบัติโดยกระบวนการ Winterization |
58 |
การเตรียมเชื้อเพลิงไบโอดีเซลจากน้ำมันเมล็ดดอกทานตะวันและการปรับปรุงคุณสมบัติโดยกระบวนการ Wnterization |
ปี พ.ศ. 2545 |
59 |
การขยายขนาดถังบ่มโคจิชนิดแพคเบดจากขนาด 400 กิโลกรัมเป็น 800 และ 1,200 กิโลกรัม เพื่อการผลิตซีอิ๊วและเต้าเจี้ยวของโรงงานขนาดกลางและย่อม |
60 |
การสำรวจสถานภาพด้านเทคนิคของโรงงานผักและผลไม้ดอก |
61 |
การส่งเสริมการใช้ถังแพคเบดในการบ่มโคจิสำหรับการผลิตซีอิ๊วและเต้าเจี้ยว |
ปี พ.ศ. 2544 |
62 |
การพัฒนาระบบโอโซนเพื่อบำบัดน้ำเสียแบบต่อเนื่อง |
ปี พ.ศ. 2543 |
63 |
การศึกษาทางการทดลองและทฤษฎีของการหมักบนของแข็งในถังแพคเบค |