ปี พ.ศ. 2562 |
1 |
ข้าวหอมมะลิดัชนีน้ำตาลต่ำกึ่งสำเร็จรูป |
ปี พ.ศ. 2558 |
2 |
ผลของการดัดแปรสตาร์ชข้าวเจ้าด้วยวิธีไฮดรอกซีโพรพิเลชันร่วมกับวิธีเชื่อมขวางต่อสมบัติของฟิล์มย่อยสลายได้จากสตาร์ชข้าวเจ้า |
ปี พ.ศ. 2557 |
3 |
การปรับปรุงสมบัติของฟิล์มย่อยสลายจากสตาร์ชข้าวเจ้าพื้นเมืองภาคใต้ด้วยพอลิไวนิลแอลกอฮอล์ |
ปี พ.ศ. 2556 |
4 |
การปรับปรุงสมบัติของฟิล์มสตาร์ชข้าวเจ้าด้วยวุ้นและการฉายแสง UV |
ปี พ.ศ. 2555 |
5 |
การยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์โรตีกรอบเสริมใยอาหารและสตาร์ชที่ทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ |
6 |
การปรับปรุงสมบัติของฟิล์มสตาร์ชข้างเฉี้ยงโดยการผสมกับพอลิไวนิลแอลกอฮอล์ (PVOH) |
7 |
การลดปริมาณการสูญเสียจากกระบวนการเป่าขวดพลาสติก |
8 |
ปัจจัยที่มีผลต่อการคลายตัวของผลิตภัณฑ์ไส้กรอกบรรจุแบบสุญญากาศ |
ปี พ.ศ. 2554 |
9 |
การผลิตและการปรับปรุงสมบัติของบรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้จากแป้งข้าวเจ้าด้วยการเติมไมโครคริสตัลไลน์เซลลูโลส |
10 |
การปรับปรุงสมบัติของฟิล์มย่อยสลายได้ผสมระหว่างสตาร์ชข้าวเจ้าและไคโตแซนโดยการฉายแสงยูวี |
11 |
สมบัติและคุณลักษณะของฟิล์มย่อยสลายได้จากสตาร์ชกล้วยนางพญา |
12 |
สมบัติและคุณลักษณะของฟิล์มย่อยสลายได้ผสมจากสตาร์ชข้าวเจ้าและยางธรรมชาติ |
13 |
การผลิตบรรจุภัณฑ์เยื่อขึ้นรูปจากเส้นใยปาล์ม |
ปี พ.ศ. 2553 |
14 |
การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนในวิธีการทดสอบค่า Powder content ของถุงมือมีแป้ง |
15 |
การสกัด การแยก และการประยุกต์ใช้สารลิกนินจากทะลายปาล์มในการผลิตสารเคลือบผิวกระดาษลูกฟูก |
16 |
การปรับปรุงสมบัติของฟิล์มย่อยสลายจากสตาร์ชข้าวเฉี้ยงโดยสารครอสลิงและยูวีทรีทเมนต์ |
17 |
การปรับปรุงสมบัติของฟิล์มย่อยสลายได้จากสตาร์ชข้าวเจ้าด้วยยางธรรมชาติ และยางธรรมชาติดัดแปร |
18 |
การปรับปรุงสมบัติของฟิล์มย่อยสลายได้จากสตาร์ชข้าวเจ้าและไคโตแซนโดยการฉายแสงยูวี |
ปี พ.ศ. 2552 |
19 |
การผลิต คุณสมบัติ และแนวทางการใช้ฟิล์มบริโภคได้ชนิดยับยั้งจุลินทรีย์ซึ่งเตรียมจากการผสมสารสกัดจากไม้เคี้ยม (Cotyleobium Ianceotatum) และไม้พยอม (Shoreatdurn) |
20 |
การปรับปรุงสมบัติการป้องกันการซึมผ่านของไอน้ำของฟิล์มสตาร์ชข้าวโพดด้วยการเติมไขมัน |
21 |
การประยุกต์ใช้โรซินเป็นส่วนผสมในสารเคลือบผิวกระดาษลูกฟูก |
22 |
การปรับคุณสมบัติเชิงกลและคุณสมบัติการต้านทานไอน้ำของฟิล์มย่อยสลายได้จากสตาร์ชข้าวด้วยยางธรรมชาติ |
ปี พ.ศ. 2551 |
23 |
การคัดเลือก การพัฒนาเทคนิคการบรรจุ และบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์จากผลไม้แปรรูปในเขตภาคใต้ตอนล่าง |
24 |
การลดต้นทุนการผลิตกาวที่ใช้ในอุตสาหกรรมกระดาษลูกฟูกโดยการลดปริมาณสตาร์ช |
25 |
การผลิตและการประยุกต์ใช้ยางธรรมชาติเป็นส่วนผสมในสารเคลือบผิวกระดาษลูกฟูก |
ปี พ.ศ. 2550 |
26 |
โครงการศักยภาพการผลิตและคุณสมบัติของไมโครคริสตัลไลน์เซลลูโลสจากเส้นใยปาล์ม |
27 |
ผลร่วมของพอลิเมอร์ในการปรับปรุงแวกซ์ทางการค้าต่อความสามารถในการพิมพ์ การดูดซับน้ำ และความแข็งแรงของกระดาษลูกฟูก |
28 |
การยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์กุ้งเสียบยำสมุนไพรด้วยเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ |
29 |
การผลิตและประยุกต์ใช้สารเคลือบผิวจากอัลคีดเรซินจากน้ำมันปาล์มสำหรับทดแทนแวกซ์ทางการค้าสำหรับเคลือบผิวกระดาษลูกฟูก : ปัจจัยที่มีผลต่อความคงตัวและการกระจายตัวของสารเคลือบผิวจากอัลคีดเรซิน |
30 |
การผลิต สมบัติ และการประยุกต์ใช้สารเคลือบผิวจากอัลคัดเรซินที่ผลิตจากน้ำมันปาล์ม เพื่อทดแทนการใช้แวกซ์ทางการค้าสำหรับเคลือบผิวกระดาษลูกฟูก |
31 |
การปรับปรุงระบบ GMP และ HACCP ในโรงงานผลิตปลากระป๋อง |
32 |
การผลิต การพัฒนาคุณสมบัติฟิล์มบริโภคได้จากสตาร์ชข้าวพื้นเมืองภาคใต้และการประยุกต์ใช้ |
33 |
การผลิตและคุณสมบัติของไมโครคริสตัลไลน์เซลลูโลสจากเส้นใยปาล์มและเส้นใยตาลโตนด |
34 |
การปรับปรุงสมบัติของกระดาษรีไซเคิลด้วยไคโตแซน |
35 |
การปรับปรุงสมบัติฟิล์มสตาร์ชข้าวเจ้าด้วยเซลลูโลสและคริสตัลไลน์เซลลูโลสจากเส้นใยปาล์ม |
36 |
การผลิต สมบัติ และประยุกต์ใช้แวกซ์ชนิดเหลว (อัลคีคเรซิน) ที่ผลิตจากน้ำมันปาล์มสำหรับเคลือบผิดกระดาษลูกฟูก |
37 |
การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้แอมโมเนียในอุตสาหกรรมน้ำยางข้น |
ปี พ.ศ. 2549 |
38 |
การเตรียมและคุณสมบัติของฟิล์มผสมระหว่างสตาร์ชและไคโตแซน |
39 |
การศึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางในรูปแผ่นแปะผิวหนังจากเปคติน |
40 |
การปรับปรุงคุณสมบัติการป้องกันการซึมผ่านไอน้ำของฟิล์มผสมระหว่างสตาร์ชข้าวเจ้าและไคโตแซนด้วยไขมันและการประยุกต์ใช้ในอาหาร |
41 |
การปรับปรุงคุณสมบัติของฟิล์มสตาร์ชข้าวเจ้าด้วยนาโนคริสตัลไลน์เซลลูโลสจากเส้นใยปาล์ม |
42 |
การผลิต คุณสมบัติ และการประยุกต์ใช้เซลลูโลสและอนุพันธุ์ของเซลลูโลสจากเส้นใยปาล์ม |
43 |
การปรับปรุงความสามารถในการพิมพ์และการดูดซับน้ำของแวกซ์สำหรับเคลือบกระดาษ |
44 |
การผลิตและประยุกต์ใช้สารเคลือบผิวจากอัลคิดเรซินจากน้ำมันปาล์มทดแทนแวกซ์ทางการค้าจากอัลคิดเรซิน |
ปี พ.ศ. 2548 |
45 |
คุณสมบัติทางเคมี-กายภาพของฟิล์มบริโภคได้ผสมระหว่างไคโตแซนและสตาร์ชข้าวเจ้า |
46 |
การปรับปรุงคุณสมบัติของฟิล์มบริโภคได้จากโปรตีนเนื้อปลามูลค่าต่ำด้วยไคโตแซน |
47 |
โครงการฟื้นฟูอาชีพ และถ่ายทอดเทคโนโลยีทางด้านอุตสาหกรรมเกษตร |
48 |
การพัฒนากระบวนการผลิต บรรจุภัณฑ์และการใช้ระบบการจัดการที่ดีในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Practice, GMP) ของกลุ่มผู้ผลิตอาหารพื้นบ้านใน 3 จังหวัดภาคใต้นอล่างล่าง |
ปี พ.ศ. 2547 |
49 |
การพัฒนาการผลิตและคุณสมบัติของฟิล์มบริโภคได้ จากเนื้อปลาคุณภาพต่ำ |
50 |
การพัฒนาการผลิต คุณสมบัติ และแนวทางการใช้ประโยชน์ของฟิล์มบริโภคได้จากแป้งชนิดต่าง ๆ |
51 |
การพัฒนาการผลิตคุณสมบัติและการประยุกต์ใช้ฟิลม์ บริโภคได้จากเนื้อปลาคุณภาพต่ำ |
52 |
การวิเคราะห์ความไม่เป็นไปตามข้อกำหนดของน้ำหนักผลิตภัณฑ์สุทธิของปลาทูน่าบรรจุกระป๋อง |
53 |
การหาค่าร้อยละผลผลิตมาตรฐานในการผลิตปลาทูน่าบรรจุกระป๋อง |
ปี พ.ศ. 2543 |
54 |
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพของกุ้งแห้งระหว่างการเก็บรักษาในรูปแบบการบรรจุชนิดต่าง ๆ |
55 |
การแยกคุณสมบัติและการทำบริสุทธิ์น้ำมันจากหัวปลาซาร์ดีน (Sardinella gibbosa) |
56 |
การใช้ประโยชน์ใดไคโตแซนในการเก็บรักษากุ้งกุลาดำดิบ |
57 |
ผลของสารเคลือบผิวชนิดต่าง ๆ ต่อคุณภาพของผลสาลีระหว่างการเก็บรักษา |
ปี พ.ศ. ไม่ระบุ |
58 |
การจัดการวิธีการจัดเก็บสินค้าในคลังเก็บสินค้า |
59 |
การปรับปรุงสมบัติของฟิล์มสตาร์ชข้าวเจ้าด้วยลิกนินและการฉายแสงยูวี |