ปี พ.ศ. 2560 |
1 |
แนวทางการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของอาคารมหาวิทยาลัย กรณีศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
ปี พ.ศ. 2559 |
2 |
การวิจัยเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยของภาครัฐโดยใช้เกณฑ์ Ecovillag |
ปี พ.ศ. 2558 |
3 |
ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานของหลังคาอาคารสีขาวที่เคลือบสีเทอร์โมโครมิก |
4 |
การจัดการงานก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่พิเศษตามมาตรฐานอาคารเขียว |
5 |
การพัฒนาวัสดุกันเสียงและดูดซับเสียงจากเส้นใยเปลือกทุเรียน |
6 |
แนวทางการปรับปรุงด้านการประหยัดพลังงานและการควบคุมความชื้นสำหรับอาคารเก่าที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ในเขตภูมิอากาศร้อนชื้น |
7 |
ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานของหน้าต่างกระจกเทอร์โมโครมิก, โพลิเมอร์-ดิสเพอร์สด์ ลิควิด คริสตัล, และโลว์-อี ในเขตอากาศร้อนชื้น |
8 |
ผลกระทบจากภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงต่อการใช้พลังงานอาคารในเขตร้อนชื้น |
9 |
การออกแบบแผงบังแดดเพื่อได้แสงธรรมชาติและประสิทธิภาพด้านพลังงานในอาคารตามเกณฑ์การประเมินอาคารเขียว วี4 (LEED v4) |
10 |
ผลกระทบของเงาอาคารข้างเคียงต่อประสิทธิภาพการใช้พลังงานของอาคารสำนักงาน ตามเกณฑ์ LEED VERSION 4 |
ปี พ.ศ. 2557 |
11 |
ประสิทธิภาพการทำความเย็นของแผ่นฝ้าเย็นที่ใช้แผ่นเทอร์โมอิเล็คทริกเป็นตัวทำความเย็น |
12 |
ประสิทธิภาพการกันความร้อนของแผงอลูมิเนียมฉลุลาย |
13 |
ผลกระทบของรูปทรง การวางทิศทาง และเปลือกอาคารชุดพักอาศัยต่อประสิทธิภาพการประหยัดพลังงาน เปรียบเทียบกับอาคารตามมาตรฐาน ASHRAE 90.1 2010 |
14 |
ประสิทธิภาพของเครื่องผลิตพลังงานไฟฟ้าเทอร์โมอิเล็กทริกเมื่อใช้งานกับเปลือกอาคารและระบบผนังสองชั้นระบายอากาศ |
15 |
สภาวะน่าสบายเชิงอุณหภาพสำหรับผู้สูงอายุภายในบ้านพักคนชราในประเทศไทย |
16 |
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะน่าสบายและทัศนียภาพของอาคารเขียวตามเกณฑ์ลีด (LEED) ในประเทศไทย |
17 |
ประสิทธิภาพในการป้องกันความร้อนของฝ้าเพดานต้นอ้อ |
18 |
ประสิทธิภาพทางความร้อนของผนังไม้ไผ่ในบ้านเขตร้อนชื้น |
19 |
ความคุ้มค่าทางการเงินของการลงทุนโครงการอาคารชุดเพื่อให้ได้รับการส่งเสริมการเพิ่มอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (F.A.R. BONUS) จากการผ่านเกณฑ์ TREES-PRE NC : กรณีศึกษา โครงการ ไอดิโอโมบิ ในกรุงเทพมหานคร |
20 |
โอกาสและข้อจำกัดในการนำเกณฑ์ ชุมชนน่าอยู่น่าสบายอย่างยั่งยืน (Eco village)มาใช้กับการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยของการเคหะแห่งชาติ |
21 |
การพัฒนาเกณฑ์การบริหารจัดการโครงการหลังการเข้าอยู่อาศัยอย่างยั่งยืนสำหรับโครงการที่อยู่อาศัยของการเคหะแห่งชาติ |
ปี พ.ศ. 2556 |
22 |
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสีป้องกันความร้อนผสมอนุภาคซิลิกากับวิธีการป้องกันความร้อนอื่นๆ |
23 |
การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ของอาคารประหยัดพลังงานที่ได้รับการส่งเสริมการเพิ่มอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (FAR BONUS) |
24 |
ประสิทธิภาพการทำความเย็นโดยการแผ่รังสีในตอนกลางคืนด้วยฝ้าเพดานแบบพลิกหมุน |
25 |
สมรรถนะด้านพลังงานของหลังคาแผ่รังสีความร้อนสูง ชนิดมวลเบา |
26 |
สมรรถนะด้านความร้อนของอาคารที่ติดตั้งช่องระบายอากาศ ใต้หลังคาแผ่รังสีความร้อนสูงและการใช้ปล่องระบายความร้อน |
27 |
สมรรถนะด้านพลังงานของหลังคาที่ติดตั้งมวลอุณหภาพและฉนวนชนิดเปิดปิดได้ |
28 |
การศึกษาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนรวมและความเป็นไปได้ทางการเงินของหลังคาเขียว โดยวิธีการระเหยของน้ำ |
29 |
การพัฒนาแผนภาพกระบวนการทำงานและการแลกเปลี่ยนสารสนเทศสำหรับโครงการอาคารเขียว |
30 |
ประสิทธิภาพของร่มเงาต้นไม้ที่มีผลต่อผนังอาคารพักอาศัย |
ปี พ.ศ. 2555 |
31 |
การพัฒนาค่าความแตกต่างอุณหภูมิเทียบเท่าสำหรับการคำนวณค่าการส่งผ่านความร้อนผ่านเปลือกอาคารชุดพักอาศัย |
32 |
ความเป็นไปได้ในการนำมาตรฐานลีด 2009 สำหรับพัฒนาชุมชนละแวกบ้านมาใช้สำหรับโครงการจัดสรรขนาดกลางประเภทบ้านเดี่ยวในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
33 |
ผลกระทบของรูปทรงและการวางทิศทางอาคารสำนักงานต่อประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานตามมาตรฐาน ASHRAE 90.1 2007 |
34 |
แนวทางการเพิ่มคุณภาพอากาศภายในอาคารศูนย์การค้าด้วยการควบคุมปริมาณอากาศบริสุทธิ์เข้ามาในอาคาร |
35 |
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพวัสดุหลังคาที่มีสัมประสิทธิ์การแผ่รังสีต่ำและฉนวนกันความร้อนทั่วไป |
36 |
ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานของสารเคลือบกระจกกันความร้อนของอาคารในเขตสภาพอากาศแบบร้อนชื้น |
37 |
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพด้านความร้อนของผนังไม้จริงตัดขวาง |
38 |
ผลกระทบจากการกำหนดค่าการใช้พลังงานรวมของอาคารตามกฎหมายที่มีต่อการออกแบบคอนโดมิเนียม |
39 |
แนวทางการออกแบบบ้านในชุมชนแออัดในเขตเมือง(บ้านมั่นคง)ให้อยู่ในสภาวะน่าสบาย |
40 |
ผลกระทบของการตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศต่อการใช้พลังงานการทำความเย็น ในอาคารที่มีการติดตั้งฉนวนชนิดต่างๆ |
41 |
อิทธิพลของภูมิอากาศในภูมิภาคต่างๆของประเทศไทยต่อการใช้พลังงานในอาคาร |
42 |
การวิเคราะห์การปล่อยคาร์บอนจากขั้นตอนการรื้อถอนอาคารและการทำลายอาคาร |
43 |
การพัฒนาค่าความแตกต่างอุณหภูมิเทียบเท่าสำหรับการคำนวณค่าการส่งผ่านความร้อนผ่านเปลือกอาคารชุดพักอาศัย |
44 |
ความเป็นไปได้ในการนำมาตรฐานลีด 2009 สำหรับพัฒนาชุมชนละแวกบ้านมาใช้สำหรับโครงการจัดสรรขนาดกลางประเภทบ้านเดี่ยวในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
ปี พ.ศ. 2554 |
45 |
โอกาสและข้อจำกัดในการนำเกณฑ์อาคารเขียวด้านทำเลที่ตั้งมาใช้กับโครงการที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อยในเขตกรุงเทพมหานคร |
46 |
ผลกระทบของการรั่วซึมของอากาศ ต่อผลการใช้พลังงานในระบบปรับอากาศของเรือนไทยและบ้านร่วมสมัย |
47 |
การพัฒนาวิธีการประเมินค่าการถ่ายเทความร้อนรวมและการใช้พลังงานรวมของอาคารชุดพักอาศัยในกรุงเทพมหานคร |
48 |
ผลกระทบของมวลอุณหภาพของผนังภายนอกอาคารในทิศทางต่างๆที่มีผลต่อการใช้พลังงานของอาคาร ในเขตร้อนชื้น |
49 |
การพัฒนาตัวแปรปรับแก้ค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนรวมของหลังคาอาคารที่มีลักษณะสองชั้น |
50 |
ประสิทธิภาพการใช้พลังงานของอาคารที่มีการบังแดดด้วยรูปทรงอาคาร |
ปี พ.ศ. 2553 |
51 |
แนวทางการออกแบบการเชื่อมโยงทางสายตาระหว่างสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกจากหน้าต่างในสำนักงาน |
52 |
การระบายอากาศโดยวิธีทางธรรมชาติ : แนวทางการออกแบบปรับปรุงผังอาคารชุดพักอาศัย กรณีศึกษาโครงการบ้านเอื้ออาทร |
53 |
สาระสำคัญด้านสภาวะน่าสบายที่ส่งเสริมการใช้อาคารศูนย์กีฬาในกรุงเทพมหานคร |
54 |
ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานของอุปกรณ์กันแดดแบบผนัง 2 ชั้น: กรณีศึกษาอาคารพักอาศัยในกรุงเทพมหานคร |
55 |
แนวทางการออกแบบอาคารโฮมมาร์ทสีเขียวให้สอดคล้องกับเกณฑ์ประสิทธิภาพพลังงานของ LEED |
56 |
ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงาน ของอุปกรณ์กันแดดแบบผนัง 2 ชั้น กรณีศึกษาอาคารพักอาศัยในกรุงเทพมหานคร |
57 |
สาระสำคัญด้านสภาวะน่าสบาย ที่ส่งเสริมการใช้อาคารศูนย์กีฬาในกรุงเทพมหานคร |
58 |
การระบายอากาศโดยวิธีทางธรรมชาติ : แนวทางการออกแบบปรับปรุงผังอาคารชุดพักอาศัย กรณีศึกษาโครงการบ้านเอื้ออาทร |
59 |
แนวทางการออกแบบอาคารโฮมมาร์ทสีเขียวให้สอดคล้อง กับเกณฑ์ประสิทธิภาพพลังงานของ LEED |
60 |
แนวทางการออกแบบการเชื่อมโยงทางสายตาระหว่างสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกจากหน้าต่างในสำนักงาน |
ปี พ.ศ. 2552 |
61 |
แนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้าของอาคารสำนักงานราชการ กรณีศึกษาอาคารสำนักงานอธิการบดีหลังใหม่ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี |
62 |
แนวทางการเลือกใช้กระจกเป็นผนังอาคารสำนักงานปรับอากาศเพื่อให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พ. ศ. 2552 |
63 |
ประสิทธิภาพของระบบผนังกระจกสองชั้นแบบใช้การระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ |
64 |
ทัศนคติและการให้ความสำคัญแนวความคิดในแบบประเมินสถาปัตยกรรมสีเขียวของสมาคมสถาปนิกสยาม |
65 |
แนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้าของอาคารสำนักงานราชการ กรณีศึกษาอาคารสำนักงานอธิการบดีหลังใหม่ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี |
66 |
ประสิทธิภาพของระบบผนังกระจกสองชั้นแบบใช้การระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ |
67 |
แนวทางการเลือกใช้กระจกเป็นผนังอาคารสำนักงานปรับอากาศ เพื่อให้สอดคล้องกับกฎกระทรวง การออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2552 |
68 |
ประสิทธิภาพการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติในการวางผังโครงการบ้านจัดสรร |
69 |
การตัดสินใจในการเลือกแนวความคิดในการออกแบบโครงการบ้านจัดสรรเขียว ระดับกลาง |
ปี พ.ศ. 2551 |
70 |
ประสิทธิภาพการระบายอากาศของปล่องแสงอาทิตย์ |
71 |
แนวทางการออกแบบช่องเปิดเพื่อได้รับความร้อนและแสงธรรมชาติอย่างเหมาะสมในอาคารสำนักงาน |
ปี พ.ศ. 2550 |
72 |
การประเมินสภาวะสบายตาจากค่าความส่องสว่างและอุณหภูมิสีจากโคมฟลูออเรสเซนต์ |
73 |
การออกแบบปรับปรุงความเร็วลมเพื่อภาวะน่าสบายใต้ถุนอาคารสูง |
74 |
การออกแบบปรับปรุงความเร็วลมเพื่อภาวะน่าสบายใต้ถุนอาคารสูง |
ปี พ.ศ. 2549 |
75 |
การสร้างสภาวะน่าสบายโดยใช้ประโยชน์จากดินและน้ำ |
ปี พ.ศ. 2548 |
76 |
แนวทางการออกแบบปรับปรุงอาคารสำนักงานของรัฐเพื่อการประหยัดพลังงาน : กรณีศึกษาอาคารสำนักงานเทศบาลนคร จ.นครราชสีมา |
77 |
ประสิทธิผลขององค์ประกอบสภาพภูมิทัศน์ต่อสภาวะน่าสบายของมนุษย์ |
78 |
การระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติของอาคารใต้ดิน |
ปี พ.ศ. 2547 |
79 |
โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลและประเมินค่าดัชนีการประหยัดพลังงานของอาคารในภูมิอากาศร้อนชื้น |
80 |
แนวทางการออกแบบปรับปรุงบ้านเอื้ออาทร เพื่อสภาวะน่าสบายและการใช้พลังงานอย่ามีประสิทธิภาพ |
81 |
การออกแบบบ้านแถวเพื่อใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ |
82 |
การออกแบบบ้านพักอาศัยเพื่อการประหยัดพลังงานด้วยแนวคิดสถาปัตยกรรมยั่งยืน |
83 |
แนวทางการใช้รูปแบบการไหลเวียนกระแสลมของเรือนไทยในบ้านพักอาศัย |
ปี พ.ศ. 2546 |
84 |
แนวทางการสร้างแบบประเมินอาคารปรับอากาศ เพื่อประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานในภูมิอากาศเขตร้อนชื้น |
85 |
แนวทางการสร้างแบบประเมินค่าการประหยัดพลังงานในอาคารสำหรับช่องเปิดอาคารในเขตร้อนชื้น |
86 |
แนวทางการออกแบบปล่องระบายอากาศสำหรับบ้านพักอาศัยในประเทศไทย |