ปี พ.ศ. 2553 |
1 |
ผู้หญิงมุสลิมท่ามกลางความขัดแย้ง : การเปลี่ยนผ่านจากเหยื่อสู่ผู้ขับเคลื่อนงานสันติภาพ |
2 |
เศรษฐกิจการเมืองของนโยบายทรัพย์สินทางปัญญา: ศึกษากรณีการใช้สิทธิตามสิทธิบัตรยาในประเทศไทย |
3 |
เศรษฐกิจการเมืองของนโยบายทรัพย์สินทางปัญญา: ศึกษากรณีการใช้สิทธิบัตรยาในประเทศไทย |
4 |
ผู้หญิงมุสลิมท่ามกลางความขัดแย้ง : การเปลี่ยนผ่านจากเหยื่อสู่ผู้ขับเคลื่อนงานสันติภาพ |
ปี พ.ศ. 2552 |
5 |
เทคโนโลยีกับการต่อสู้ทางการเมืองโดยไร้ความรุนแรง : ศึกษากรณีอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย |
6 |
เทคโนโลยีกับการต่อสู้ทางการเมืองโดยไร้ความรุนแรง : ศึกษากรณี อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2551 |
7 |
ชีวิตของคนที่มีความหลากหลายทางเพศในชุมชนเสมือนจริง |
8 |
ชีวิตของคนที่มีความหลากหลายทางเพศ ในชุมชนเสมือนจริง |
ปี พ.ศ. 2550 |
9 |
การศึกษาถึงความสอดคล้องระหว่างหลักการกับผลการปฏิบัติงาน ของผู้ว่าราชการจังหวัดแบบบูรณาการ : รายงานผลการวิจัย |
10 |
ข้อเสนอเชิงระบบเพื่อสุขภาวะที่ยั่งยืน : การจัดการความรู้ระบบสุขภาพเพื่อสันติสุขภาวะพื้นที่ภาคใต้ |
11 |
การสร้างอัตลักษณ์วัยรุ่นจากการแต่งกายแฟชั่น : กรณีศึกษา สยามแสควร์ |
12 |
ขบวนการประชาสังคมกับการพัฒนาประชาธิปไตยชุมชน |
ปี พ.ศ. 2549 |
13 |
ทิศทางนโยบายการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับโลกทัศน์เกี่ยวกับสันติภาพในพื้นที่ชายแดนสามจังหวัดภาคใต้ |
14 |
พระภิกษุข้ามถิ่นอัตลักษณ์ข้ามแดน : ศึกษาเปรียบเทียบพระภิกษุพม่าและพระภิกษุไทใหญ่ในภาคเหนือของประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2547 |
15 |
กระบวนการก่อรูปอัตลักษณ์ของผู้อพยพชาวกะเหรี่ยง : ศึกษากรณีกะเหรี่ยงในพื้นที่พักพิงชั่วคราว บ้านแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก |
16 |
วัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำองค์การบริหารส่วนตำบล ในเขตจังหวัดนครปฐม |
17 |
โครงการวิจัยองค์กรสาธารณประโยชน์ในประเทศไทย |
18 |
การเข้าร่วมโครงการนำร่องเพื่อพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืนของเกษตรการรายย่อย : กรณีศึกษาเขตภูมินิเวศน์ฉะเชิงเทรา |
ปี พ.ศ. 2546 |
19 |
องค์กรสาธารณประโยชน์ในประเทศไทย |
20 |
โครงการวิจัย เรื่อง ระบบและกลไกเพื่อการบริหารจัดการทุนเพื่อการพัฒนา |
21 |
การสร้างและพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตและพัฒนาสังคม |
22 |
การปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ความเป็นจีนของชาวไทยเชื้อสายจีน ในบริบทขององค์กรประชาสังคมของกลุ่มชาติพันธุ์จีน : ศึกษากรณีองค์กรในจังหวัดอุบลราชธานี |
23 |
โครงการวิจัย เรื่อง การสร้างและพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตและการพัฒนาสังคม (ระยะที่ 2) |
24 |
การสร้างและพัฒนาตัวชี้วัด คุณภาพชีวิตและพัฒนาสังคม |
ปี พ.ศ. 2545 |
25 |
รูปแบบการอยู่อาศัยชุมชนไทยเชื้อสายมอญบางกระดี่ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร |
26 |
พญานาค เจ้าแห่งแม่น้ำโขง : พิธีกรรมกับระบบความเชื่อพื้นบ้านแห่งวัฒนธรรมอีสาน |
27 |
กระบวนการลดความอ้วนของผู้หญิง : วาทกรรมการสร้างอัตลักษณ์ในวัฒนธรรมบริโภค |
28 |
อิทธิพลของนักคิดสำนักโครงสร้างนิยมสายฝรั่งเศสที่มีต่อมานุษยวิทยาไทย |
ปี พ.ศ. 2544 |
29 |
ระบบและกลไกเพื่อการบริหารจัดการกองทุนเพื่อการพัฒนา : การสังเคราะห์ภาพรวมองค์กรกองทุนเพื่อการพัฒนา : รายงานฉบับหลัก |
30 |
สัญลักษณ์พระสยามเทวาธิราช การวิเคราะห์และตีความหมายเชิงมานุษยวิทยา |
ปี พ.ศ. 2543 |
31 |
วัฒนธรรมบริโภคนิยมกับอาหารเพื่อสุขภาพในบริบทสังคมเมือง |
32 |
การถูกลดทอนความเป็นมนุษย์และการตอบโต้โดยการสร้างอัตลักษณ์ใหม่ของสาวคาราโอเกะ |
ปี พ.ศ. 2542 |
33 |
โครงการวิจัยการสร้างและพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตและการพัฒนาสังคมช่วงที่ 1 : การพัฒนากรอบความคิดโครงการวิจัย |
34 |
เอกลักษณ์ชาติพันธุ์ของคนไทยเชื้อสายจีนในชุมชนอ้อมใหญ่ |
ปี พ.ศ. 2540 |
35 |
โครงการพัฒนาชุดโครงการวิจัยเรื่อง ความหลากหลายทางวัฒนธรรม (Cultural Diversity) |
ปี พ.ศ. 2539 |
36 |
ผีปะกำ : คติความเชื่อเรื่องผีบรรพบุรุษของชาวไทย-กวย (ส่วย) เลี้ยงช้างจังหวัดสุรินทร์ |
37 |
กระบวนการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ความงามทางสรีระของผู้หญิงในสังคมไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีการประกวดนางสาวไทย |
ปี พ.ศ. 2538 |
38 |
พิธีชิงเปรต : ประเพณีเทศกาลเดือนสิบในภาคใต้ |
ปี พ.ศ. 2537 |
39 |
กลไกการปรับตัวของครัวเรือนภาคเกษตรที่มีสมาชิกทำงาน ในโรงงานอุตสาหกรรม : ศึกษาเฉพาะกรณีบ้านปากคลองบ้านโพธิ์ ตำบลคลองบ้านโพธิ์ อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา |
40 |
กรือเซะ : ความสัมพันธ์ระหว่างชาติพันธุ์ ปรัมปรานิยายและพิธีกรรม |
ปี พ.ศ. 2536 |
41 |
การเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวทางสังคมในด้านการเมือง ของหัวหน้าครอบครัวชาวนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
42 |
การใช้เรื่องเล่าผีปู่และย่า : ศึกษาเฉพาะกรณีชาวบ้านป่านป้าจี้ |
43 |
อุดมการณ์ทุนนิยมและผลกระทบต่อชาวนาในหมู่บ้านภาคกลางของไทย : ศึกษาเฉพาะหมู่บ้านหนองผักชีเหนือ จังหวัดสระบุรี |
ปี พ.ศ. 2535 |
44 |
การศึกษาตัวบ่งชี้สถานภาพเศรษฐกิจสังคมในสังคมไทย |
45 |
ปัจจัยของการเข้าร่วมในกิจกรรมทางพุทธศาสนาของชาวพุทธ : ศึกษาเฉพาะกรณีวัดอัมพวัน ตำบลพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี |
46 |
การศึกษาพิธีบุญหลังบ้าน : กรณีศึกษาหมู่บ้านกระเดื่อง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
47 |
การเปลี่ยนศาสนาของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง (สะกอ) ในหมู่บ้านภาคเหนือของประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2532 |
48 |
ภูมิหลังของนักการเมืองสตรีกับการเข้าสู่กระบวนการทางการเมือง : ศึกษากรณีการเข้าสู่ตำแหน่งสมาชิกสภาเทศบาลทั่วประเทศ |
ปี พ.ศ. 2531 |
49 |
การพึ่งตนเองของประชาชนในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ศึกษาเฉพาะกรณีโรงงานหลวงอาหารสำเร็จรูป อำเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ |
50 |
การมีส่วนร่วมของชุมชนในศูนย์เลี้ยงเด็กก่อนวัยเรียน "พิทักษา" ชุมชนวัดอมรทายิการาม |
ปี พ.ศ. 2529 |
51 |
โครงการการศึกษาเพื่อกำหนดกรอบการวางแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 5 : รายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ |
52 |
การรับรู้และพฤติกรรมที่เกี่ยวกับโรคฟันตกกระของประชากรในเขตชนบท ของจังหวัดเชียงใหม่ |
53 |
สภาพความเป็นอยู่และความต้องการที่เกี่ยวกับการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวเล |
54 |
การศึกษาความเหมาะสมในการตั้งถิ่นฐานบริเวณบึงบรเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ |
55 |
ความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเองของเด็กกำพร้า |
56 |
พิธีกรรมและโครงสร้างทางสังคมของลาวโซ่ง |
ปี พ.ศ. 2527 |
57 |
พระสงฆ์ในชนบทภาคอีสานกับการพัฒนาตามหลักการพึ่งตนเอง |
58 |
สถานภาพและบทบาทของแม่ชีในสังคมไทย : ศึกษากรณีวัดสร้อยทอง |
ปี พ.ศ. 2526 |
59 |
บทบาทของบริษัทธุรกิจเอกชนกับการพัฒนาการเกษตร |
ปี พ.ศ. 2523 |
60 |
การปรับตัวของพนักงานหญิงที่มีต่องานอุตสาหกรรม : ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างพนักงานที่อาศัยอยู่ในหอพัก ของบริษัทและพนักงานที่อาศัยอยู่นอกบริเวณบริษัท |
ปี พ.ศ. 2522 |
61 |
การปลูกฝังค่านิยมแบบประชาธิปไตย ในชุมชนคลองจั่นและสลัมคลองเตย |
ปี พ.ศ. 2521 |
62 |
การศึกษากับการพัฒนาชุมชนในรูปการจัดสหกรณ์นิคม : ศึกษาเฉพาะกรณี สหกรณ์นิคมสันทราย อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ |
63 |
ครอบครัวและเครือญาติในเคหะชุมชนคลองจั่น |
64 |
ทัศนคติของนักศึกษาธรรมศาสตร์ต่อพุทธศาสนาและพระสงฆ์ |
65 |
ศึกษาเฉพาะกรณีสมาชิกสหกรณ์โคนมหนองโพ |
ปี พ.ศ. 2520 |
66 |
ผลของการออกไปทำงานนอกบ้านของภรรยาที่มีต่อความสัมพันธ์ในครอบครัว |
ปี พ.ศ. 2519 |
67 |
ลักษณะการประกอบอาชีพเกษตรกรรมในเขตชนบทจังหวัดชลบุรี |
68 |
บทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาชุมชนในหมู่บ้านวังไผ่ และหมู่บ้านอู่ตะเภา จังหวัดชัยนาท |