ปี พ.ศ. 2562 |
1 |
ประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการผดุงครรภ์ต่อการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทาง รายวิชาพยาธิสรีสวิทยาและเภสัชวิทยาขั้นสูงทางการผดุงครรภ์ |
2 |
การพัฒนาระบบการสนับสนุนการคลอดอย่างต่อเนื่องและประสิทธิผลต่อความเจ็บปวดและระยะเวลาการคลอดของผู้คลอดครรภ์แรก |
3 |
ผลของการทบทวนความรู้ก่อนสอบเพื่อขึ้นทะเบียบและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพและผดุงครรภ์ รายวิชาผดุงครรภ์ ของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ต่อคะแนนการสอบในรายวิชาผดุงครรภ์ |
4 |
การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการผดุงครรภ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ต่อผลสัมฤทธิ์ในการเรียนและความพึงพอใจต่อการเรียนของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 3 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
ปี พ.ศ. 2561 |
5 |
ผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกเพื่อส่งเสริมการสนับสนุนและคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ต่อสมรรถนะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาวัยรุ่น |
6 |
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้หญิงที่มีความละเอียดอ่อนต่อมิติเพศภาวะ |
7 |
ประสบการณ์และผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษาที่เรียนแบบ R2D2 ในรายวิชาพยาธิสรีรวิทยาและเภสัชวิทยาขั้นสูงทางการผดุงครรภ์ |
ปี พ.ศ. 2560 |
8 |
สถานการณ์สุขภาพประชาชน เขต 12 |
9 |
ผลของโปรแกรมการอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับพยาบาลวิชาชีพต่อสมรรถนะการส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนแม่ |
ปี พ.ศ. 2559 |
10 |
การจัดการเรียนการสอนและการเตรียมความพร้อมนักศึกษาเพื่อสอบวัดความรู้ผู้ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ รายวิชาผดุงครรภ์ |
11 |
ผลของการใช้รูปแบบการเตรียมตัวเพื่อการคลอดต่อประสบการณ์เกี่ยวกับการคลอดของผู้คลอดครรภ์แรกและผู้ช่วยเหลือ |
ปี พ.ศ. 2558 |
12 |
ผลของโปรแกรมการเตรียมญาติเพื่อช่วยเหลือผู้คลอดวิถีธรรมชาติต่อความเจ็บปวด ความพึงพอใจของผู้คลอดต่อการช่วยเหลือของญาติ และความพึงพอใจของพยาบาลต่อการให้บริการคลอดวิถีธรรมชาติ |
13 |
การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลคลินิกในระยะคลอดสำหรับผู้คลอดวิถีธรรมชาติ |
14 |
การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาวะทางปัญญานักศึกษามหาวิทยาลัย ปี 2556 : การพัฒนาแบบวัดสุขภาวะทางปัญญาสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัย |
ปี พ.ศ. 2557 |
15 |
ผลของการใช้รูปแบบการเตรียมตัวเพื่อการคลอดต่อประสบการณ์เกี่ยวกับการคลอดของผู้คลอดครรภ์แรกและผู้ช่วยเหลือ |
16 |
การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาวะทางปัญญานักศึกษามหาวิทยาลัย ปี 2556 : การพัฒนาแบบวัดสุขภาวะทางปัญญาสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัย |
ปี พ.ศ. 2556 |
17 |
การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลคลินิกในระยะคลอดสำหรับผู้คลอดวิถีธรรมชาติ |
ปี พ.ศ. 2553 |
18 |
ผลของการคลอดวิถีธรรมชาติกับการคลอดปกติต่อระยะเวลาการคลอด ความเจ็บปวดและการฉีกขาดของฝีเย็บในผู้คลอดครรภ์แรก |
19 |
ความรู้และความต้องการการให้บริการคลอดวิถีธรรมชาติของพยาบาลผดุงครรภ์ในภาคใต้ |
20 |
การพัฒนารูปแบบการดูแลสตรีหลังทำแท้ง |
ปี พ.ศ. 2552 |
21 |
การพัฒนาศักยภาพพ่อแม่ เพื่อสอนเรื่องเพศให้กับลูก |
ปี พ.ศ. 2551 |
22 |
การพัฒนาศักยภาพพ่อแม่เพื่อสอนเรื่องเพศให้กับลูก |
23 |
รูปแบบการพัฒนาพยาบาลและผดุงครรภ์ สำหรับพยาบาลหน่วยฝากครรภ์ห้องคลอดในภาคใต้ |
24 |
การศึกษาและพัฒนาการดูแลสตรีตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่ทำแท้งผิดกฎหมายในภาคใต้ |
25 |
พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นชาย ในโรงเรียนสายสามัญ |
ปี พ.ศ. 2550 |
26 |
การสอนเรื่องเพศของพ่อแม่ และความต้องการการเรียนรู้เรื่องเพศของลูก |
ปี พ.ศ. 2549 |
27 |
ความต้องการการเรียนการสอนเพศศึกษาของครูผู้ปกครองและนักเรียน |
ปี พ.ศ. 2548 |
28 |
การพัฒนาคุณภาพการบริการของพยาบาลผดุงครรภ์ในภาคใต้(เปลี่ยนชื่อหรือไม่) |
29 |
พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นชายในโรงเรียนสายสามัญ |
30 |
พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นหญิงในโรงเรียนอาชีวศึกษา |
ปี พ.ศ. 2547 |
31 |
บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์ตามการรับรู้ของพยาบาลและผู้รับบริการ |
ปี พ.ศ. 2546 |
32 |
ความสัมพันธ์ระหว่างคุณค่าวิชาชีพพยาบาลผดุงครรภ์กับคุณภาพการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลในภาคใต้ |
ปี พ.ศ. 2540 |
33 |
คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกหลังรับรังสีรักษา |
ปี พ.ศ. 2538 |
34 |
การดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี |
ปี พ.ศ. 2522 |
35 |
สัมพันธภาพของมารดาและทารก และการปรับตัวต่อการเป็นมารดาภายหลังคลอดของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก |