ปี พ.ศ. 2559 |
1 |
ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับคุณภาพการตายของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายตามการรับรู้ของผู้ดูแล |
2 |
ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับความต้องการการดูแลแบบสนับสนุนของผู้ป่วยมะเร็งตับและท่อน้ำดี |
3 |
ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลในครอบครัวผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย |
ปี พ.ศ. 2558 |
4 |
ผลของโปรแกรมการจัดการอาการร่วมกับการปฏิบัติสมาธิต่ออาการหายใจลำบากในผู้ป่วยมะเร็งปอดที่ได้รับเคมีบำบัด |
ปี พ.ศ. 2557 |
5 |
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีวัยหมดระดู |
6 |
ผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย |
7 |
ผลของโปรแกรมการบริหารข้อไหล่ร่วมกับการบริหารกายจิตด้วยชี่กงต่อความสามารถในการเคลื่อนไหวข้อไหล่ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังได้รับการผ่าตัด |
8 |
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการกดจุดที่หูต่อความปวดในผู้ป่วยมะเร็งตับที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดทางหลอดเลือดแดง |
ปี พ.ศ. 2556 |
9 |
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการบริหารกาย-จิต ด้วยชี่กงต่อความเหนื่อยล้าของผู้ดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ |
10 |
ผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมป้องกันมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มแม่บ้านทำความสะอาด |
ปี พ.ศ. 2555 |
11 |
ผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนต่อการรับรู้ความสามารถในการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเป็นก้อนที่เต้านม |
12 |
ผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อความวิตกกังวลของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด |
13 |
ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการบริหารชี่กงต่อระดับไขมันในเลือดของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ |
14 |
ความสัมพันธ์ระหว่างอาการ การสนับสนุนทางสังคม และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอเพศชายภาคใต้ขณะได้รับรังสีรักษา |
15 |
ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการบริหารชี่กงต่อระดับไขมันในเลือดของผู้ติดเชื้อเอชไอวี |
ปี พ.ศ. 2554 |
16 |
ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองร่วมกับการออกกำลังกายด้วยชี่กงต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง |
17 |
ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งปอด |
18 |
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับโยคะต่อ ความเหนื่อยล้าในพระภิกษุสงฆ์อาพาธด้วยโรคไตวายเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม |
ปี พ.ศ. 2553 |
19 |
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการใช้สมาธิต่ออาการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง |
20 |
ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมวัยผู้ใหญ่ |
21 |
ผลของการให้ข้อมูลแบบกลุ่มต่อความวิตกกังวลของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่มีทวารเทียมทางหน้าท้อง |
22 |
ผลของการให้ข้อมูลแบบกลุ่มต่อความวิตกกังวลของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่มีทวารเทียมทางหน้าท้อง |
23 |
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการใช้สมาธิต่ออาการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง |
ปี พ.ศ. 2552 |
24 |
ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อระดับไขมันในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สอง ที่มีระดับไขมันในเลือดสูง ภาคใต้ตอนล่าง |
25 |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผาสุกทางจิตวิญญาณของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย |
26 |
ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะการทำหน้าที่ของผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ได้รับเคมีบำบัด |
27 |
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการด้วยการปรับสมดุลโครงสร้างร่างกาย ต่ออาการปวดหลังส่วนล่างของผู้ที่ปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง |
28 |
ปัจจัยทำนายอาการกำเริบบ่อยในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง |
29 |
ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลก่อนผ่าตัดร่วมกับการกดจุดต่ออาการคลื่นไส้ อาเจียน ขย้อน ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดทางนรีเวชกรรม |
30 |
ผลของโปรแกรมการจัดการอาการเจ็บปวดด้วยตนเองโดยเน้นหลักอริยสัจสี่ ต่อความเจ็บปวดในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับเคมีบำบัด |
31 |
ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับเคมีบำบัด |
32 |
ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย |
33 |
ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองที่เน้นอาหารและการออกกำลังกายต่อน้ำหนักตัวและขนาดกล้ามเนื้อต้นแขนในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ |
34 |
ผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ร่วมกับการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบโปรเกรสซีพต่อความวิตกกังวลในญาติผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลาม |
35 |
ผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ ร่วมกับการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบโปรเกรสซีพ ต่อความวิตกกังวลในญาติผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลาม |
36 |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผาสุขทางจิตวิญญาณของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย |
37 |
ผลของโปรแกรมการจัดการอาการเจ็บปวดด้วยตนเอง โดยเน้นหลักอริยสัจสี่ต่อความเจ็บปวดในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับเคมีบำบัด |
38 |
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการด้วยการปรับสมดุลโครงสร้างร่างกายต่ออาการปวดหลังส่วนล่างของผู้ที่ปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง |
39 |
ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลก่อนผ่าตัดร่วมกับการกดจุดต่ออาการคลื่นไส้ อาเจียน ขย้อน ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดทางนรีเวชกรรม |
40 |
ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อระดับไขมันในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สอง ที่มีระดับไขมันในเลือดสูง ภาคใต้ตอนล่าง |
41 |
ปัจจัยทำนายอาการกำเริบบ่อยในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง |
42 |
ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย |
43 |
ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะการทำหน้าที่ ของผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ได้รับเคมีบำบัด |
44 |
ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับเคมีบำบัด |
ปี พ.ศ. 2551 |
45 |
ผลของโปรแกรมการจัดการอาการร่วมกับการบริหารกาย - จิต แนวชี่กงต่อความวิตกกังวลและความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยระเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด |
46 |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลัน |
47 |
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการบริหารกาย-จิตแบบชี่กง ต่อความเครียดและระดับคอร์ติซอลในผู้ป่วยโรคหลอดเลีอดสมอง |
48 |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความต้องการด้านจิตวิญญาณของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย |
49 |
ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางการพยาบาลสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองต่อภาระการดูแลของผู้ดูแล |
50 |
ผลของโปรแกรมการกำกับพฤติกรรมร่วมกับการปฏิบัติโยคะ ต่อความดันโลหิตและค่าดัชนีมวลกาย ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่มีน้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน |
51 |
ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางการพยาบาล สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ต่อภาระการดูแลของผู้ดูแล |
52 |
ผลของโปรแกรมการจัดการอาการร่วม กับการบริหารกาย-จิต แนวชี่กงต่อความวิตกกังวล และความเหนื่อยล้า ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด |
53 |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมารับการรักษา ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลัน |
54 |
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการบริหารกาย-จิตแบบชี่กง ต่อความเครียดและระดับคอร์ติซอล ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
55 |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความต้องการด้านจิตวิญญาณ ของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย |
ปี พ.ศ. 2550 |
56 |
ผลของการใช้โปรแกรมการจัดการกับอาการปวดร่วมกับการใช้สุวคนธบำบัดต่อความปวดของผู้ป่วยหลังผ่าตัดช่องท้อง |
57 |
ผลของการให้ข้อมูลร่วมกับการประคบด้วยความเย็นต่อความเจ็บปวดในผู้ป่วยกระดูกไหปลาร้าหัก |
58 |
ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองและการฝึกปฏิบัติโยคะต่อระดับน้ำตาลในเลือดและความผาสุกของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 |
59 |
ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองและการบริหารกาย-จิตแบบชี่กงต่อระดับฮีโมโกลบินเอวันซีและความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา |
ปี พ.ศ. 2549 |
60 |
ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับระดับฮีโมโกลบินที่มีน้ำตาลเกาะของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สองในภาคใต้ |
61 |
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการบริหารกาย-จิตด้วยชี่กงต่อความเหนื่อยล้าของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
62 |
ผลของโปรแกรมการจัดการความปวดร่วมกับการฟังดนตรีต่อความปวดในผู้ป่วยผ่าตัดเปิดช่องท้องแบบฉุกเฉิน |
63 |
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการหายใจลำบากโดยเน้นการบริหารกาย-จิตด้วยซีกงต่อคุณภายชีวิตของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง |
64 |
ผลของการฝึกผ่อนคลายด้วยวิธีบริหารการหายใจแบบลึกต่อความวิตกกังวลในผู้ป่วยที่พบก้อนบริเวณเต้านม |
ปี พ.ศ. 2548 |
65 |
ผลของการให้ข้อมูลขณะผ่าตัดต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแลในครอบครัวผู้ป่วยผ่าตัดฉุกเฉิน |
66 |
ผลของการใช้โปรแกรมการจัดการกับอาการปวดด้วยตนเองต่อความปวดของผู้ป่วยมะเร็งศรีษะและคอที่ได้รับรังสีรักษา |
67 |
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการ ต่อความร่วมมือในการรักษาของผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส |
68 |
ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอาการ กลยุทธ์ในการจัดการกับอาการ การสนับสนุนทางสังคม กับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด |
69 |
ผลของการให้ข้อมูลอย่างมีแบบแผนร่วมกับการฝึกอานาปานสติต่อความสามารถในการดูแลตนเองและความวิตกกังวลของผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวี |
70 |
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับพฤติกรรมป้องกันอันตรายจากเสียงของคนงานโรงงานอุตสาหกรรม |
71 |
การศึกษาความต้องการของผู้ดูแลในครอบครัวผู้ป่วยโรคมะเร็งและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง |
72 |
ผลของการใช้โปรแกรมการสนับสนุนด้านข้อมูลและอารมณ์ ร่วมกับการฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแล ในครอบครัวของผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีที่มีอาการ |
73 |
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการบริหารกาย - จิตแบบชี่กงต่อความเหนื่อยล้าของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับเคมีบำบัด |
ปี พ.ศ. 2547 |
74 |
ความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของโรคมะเร็ง ประสบการณ์การมีอาการเหนื่อยล้า กลยุทธ์ในการจัดการกับอาการเหนื่อยล้า การสนับสนุนจากครอบครัว กับภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด |
75 |
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยต่อความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังการผ่าตัดที่ได้รับเคมีบำบัด |
76 |
จิตวิญญาณและความต้องการด้านจิตวิญญาณตามประสบการณ์ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีในระยะไม่ปรากฏอาการ |
77 |
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความกลัวต่อปฏิกิริยาตอบสนองจากบุคคลสำคัญ การเผชิญความเครียด การสนับสนุนทางสังคม และภาพลักษณ์ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังผ่าตัด |
78 |
ผลของโปรแกรมการฝึกโยคะร่วมกับกระบวนการกลุ่มต่อสมรรถภาพทางกายของนักศึกษาพยาบาล |
79 |
ความต้องการด้านสุขภาพของผู้ดูแลในครอบครัวผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย : การศึกษาเชิงปรากฎการณ์วิทยา |
80 |
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การรับรู้ความรุนแรงของอาการ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การสนับสนุนทางสังคมและกิจกรรมทางกายในผู้ป่วยหัวใจวายเรื้อรัง |
81 |
ประสบการณ์ด้านจิตวิญญาณของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย |
82 |
ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของข้าราชการทหารชั้นประทวน |
83 |
ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับความหวังของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัสเอดส์ |
84 |
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การรับรู้ความรุนแรงของอาการ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การสนับสนุนทางสังคม และกิจกรรมทางกายในผู้ป่วยหัวใจวายเรื้อรัง |
85 |
ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับความหวัง ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัสเอดส์ |
86 |
ความต้องการด้านสุขภาพของผู้ดูแลในครอบครัวผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย : การศึกษาเชิงปรากฎการณ์วิทยา |
ปี พ.ศ. 2546 |
87 |
ความสัมพันธ์ระหว่าง ดัชนีมวลกาย การปฏิบัติตนในชีวิตประจำวัน การเข้าถึงบริการสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม กับภาวะสุขภาพและระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สอง |
88 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินสถานการณ์ของการดูแล สัมพันธภาพของผู้ดูแลที่มีต่อผู้ป่วย ความต้องการการดูแล การสนับสนุนจากครอบครัว กับการปรับตัวของผู้ดูแลในครอบครัวผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
89 |
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับพฤติกรรมการออกกำลังกาย ของผู้ใหญ่วัยกลางคนในจังหวัดนครสวรรค์ |
ปี พ.ศ. 2545 |
90 |
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐาน ความสามารถในการดูแลตนเอง การสนับสนุนทางสังคม และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังผ่าตัด |
91 |
ผลของการใช้โปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้แบบกลุ่ม ต่อความสามารถในการดูแลตนเอง ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคปอด |
92 |
ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวาน |
93 |
ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาของการดูแล จำนวนครั้งของการเข้าพักรักษาในโรงพยาบาล การสนับสนุนจากครอบครัว ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย กับการปรับตัวของผู้ดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี |
ปี พ.ศ. 2544 |
94 |
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางคลินิก ปัจจัยส่วนบุคคล และความเหนื่อยล้าในผู้ติดเชื้อเอชไอวี |
ปี พ.ศ. 2543 |
95 |
ประสิทธิผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการ ต่ออาการและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยปอดอักเสบ จากเชื้อนิวโมซิสติส คารินิไอ |
ปี พ.ศ. 2541 |
96 |
ศึกษาความต้องการการสนับสนุนของผู้ดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี ในเขตกรุงเทพมหานคร : รายงานการวิจัย |