ปี พ.ศ. 2552 |
1 |
การสร้างระบบกล้องวิดิทัศน์ติดตามเป้าหมายแบบเวลาจริงบนบอร์ด DSP TMS320C6713 |
ปี พ.ศ. 2551 |
2 |
โครงการเสริมสร้างความเชื่อมโยงระหว่างภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและภาคเอกชนทางด้านการวิจัยและพัฒนา ปีที่ 5 : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
ปี พ.ศ. 2550 |
3 |
วิธีการแปลงลาปลาซเบื้องต้น |
4 |
การรู้จำใบหน้าโดยการใช้แถบย่อยหลายระดับความละเอียดเฉพาะ |
ปี พ.ศ. 2549 |
5 |
โครงการเสริมสร้างความเชื่อมโยงระหว่างภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและภาคเอกชนทางด้านการวิจัยและพัฒนา ปีที่ 4 : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
6 |
การแบ่งส่วนภาพโดยวิธีเลเวลเซตร่วมกับความรู้เชิงรูปร่าง |
7 |
Two-dimensional linear discriminant analysis of principle component vectors for face recognition |
8 |
การประมาณค่าความจุของช่องสัญญาณหลายเสาส่งหลายเสารับในช่องสัญญาณแบบไรเชียน โดยการแจกแจงสมมาตรในรูปแบบความถี่สปาเทียล |
ปี พ.ศ. 2548 |
9 |
การประสานภาพเชิงพื้นที่โดยการใช้เฟรมดิสครีตเวฟเล็ต |
10 |
การแยกส่วนภาพวัตถุวิดีโอที่เลือกบริเวณที่สนใจได้บนพื้นฐานองค์ประกอบสีและเทคนิคเชิงสัณฐาน |
11 |
การเลือกขีดเริ่มเปลี่ยนแบบท้องถิ่นสำหรับการลดทอนสัญญาณรบกวนของภาพบนพื้นฐานของดาวเบชีส์เวฟเล็ตสองมิติ |
12 |
การชี้เฉพาะคำสำคัญเสียงพูดภาษาไทยบนพื้นฐานของการตรวจสอบหน่วยเริ่มและหน่วยตามของพยางค์ |
13 |
การพัฒนา Lossless discrete cosine transform แบบใหม่ สำหรับการอัดข้อมูลภาพที่ใช้ได้ทั้งแบบมีการสูญเสีย (Lossy) และไม่มีการสูญเสีย (Lossless) |
ปี พ.ศ. 2547 |
14 |
การประมาณช่องสัญญาณแบบบอดบนพื้นฐานของเทคนิคการแยกย่อยยูแอลวี สำหรับมัลติแคเรียร์ซีดีเอ็มเอขาขึ้น |
15 |
การประมาณช่องสัญญาณใช้สัญลักษณ์นำช่วยสำหรับระบบมัลติแคเรียร์ซีดีเอ็มเอขาขึ้น แบบหลายสัญญาณเข้าหลายสัญญาณออก |
16 |
การดัดแปลงส่วนขจัดพูข้างที่วางนัยทั่วไปโดยใช้เทคนิคการลดสหสัมพันธ์ |
17 |
การสร้างลำคลื่นปรับตัวได้โดยใช้การทำให้อัตราส่วนสัญญาณต่อสัญญาณแทรกสอด และสัญญาณรบกวนมีค่ามากที่สุดสำหรับระบบมัลติแคเรียร์ซีดีเอ็มเอ ในช่องสัญญาณเชื่อมโยงขาขึ้น |
18 |
การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบเทคนิคการจำลองคลื่นไฟฟ้าหัวใจ |
19 |
การตรวจหาแบบไวด์ลี่เชิงเส้นสำหรับระบบมัลติ-แคเรียร์ซีดีเอ็มเอ |
20 |
การหักล้างสัญญาณแทรกสอดแบบวนซ้ำชนิดซอฟต์โดยใช้ดีเทกเตอร์ ชนิดทำให้ค่าความผิดพลาดกำลังสองเฉลี่ยต่ำสุดแบบผู้ใช้หลายคน สำหรับมัลติแคเรียร์ซีดีเอ็มเอที่มีการเข้ารหัสขาขึ้น |
21 |
โครงการเสริมสร้างความเชื่อมโยงระหว่างภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและภาคเอกชนทางด้านการวิจัยและพัฒนา ปีที่ 2 : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
22 |
การประมาณช่องสัญญาณใช้สัญลักษณ์นำช่วย สำหรับระบบมัลติแคเรียร์ซีดีเอ็มเอขาขึ้น แบบหลายสัญญาณเข้าหลายสัญญาณออก |
ปี พ.ศ. 2546 |
23 |
การแยกส่วนภาพวิดีโอออกเป็นวัตถุแบบอัตโนมัติโดยใช้เทคนิคการตัดสินใจแบบเบย์ |
24 |
การสร้างลำคลื่นปรับตัวได้แบบบอดโดยใช้ข้อมูลการดีสเปรด-รีสเปรด สำหรับการดีเทกต์ผู้ใช้หลายคนในช่องสัญญาณขาขึ้น ของระบบซีดีเอ็มเอหลายคลื่นพาห์ |
25 |
ระบบรู้จำทำนองเสียงพูดสำหรับเสียงพูดภาษาไทยโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียม |
26 |
การลดอัตราส่วนกำลังค่ายอดต่อกำลังเฉลี่ยในเอ็มซี-ซีดีเอ็มเอโดยใช้ลำดับส่งย่อย |
27 |
การรู้จำวรรณยุกต์ในคำพูดต่อเนื่องภาษาไทยบนพื้นฐานแบบจำลองฟูจิซากิ |
28 |
เครื่องรับชนิดหักล้างสัญญาณแทรกสอดแบบขนาน ที่มีการแก้ไขความถี่ออฟเซตแบบปรับตัวได้สำหรับระบบมัลติ-แคเรียร์ ซีดีเอ็มเอ |
29 |
การดัดแปลงสถาปัตยกรรม วี-บีแอลเอเอสที สำหรับระบบสื่อสาร เอ็ม ซี-ซีดีเอ็มเอ บนพื้นฐานการหักล้างสัญญาณรบกวนแบบผสม |
30 |
การรู้จำตัวอักษรภาษาไทยแบบออนไลน์โดยใช้แบบจำลองฮิดเดนมาร์คอฟและฟัซซีโลจิก |
31 |
เทคนิคที่คงทนต่อความผิดพลาดทางเฟสที่เกิดแบบสุ่มสำหรับปรับปรุงอัลกอริทึมมิวสิกแบ่งลำคลื่นโดยใช้เงื่อนไขบังคับของการทำอนุพันธ์แบบไม่ขึ้นกับค่าเฟส |
32 |
การปรับสเกลความละเอียดของเกรนแบบทนทานโดยใช้การทำนายรั่วสำหรับการเข้ารหัสวิดีโออัตราบิตต่ำ |
ปี พ.ศ. 2545 |
33 |
การรู้จำเสียงพูดภาษาไทยอย่างคงทนโดยใช้สัมประสิทธิ์เมลฟรีเคว็นซีเซปสตรอลของค่าอัตสหสัมพันธ์ของเสียงพูดที่มีสัญญาณรบกวน |
34 |
ค่าลักษณะสำคัญแบบคงทนต่อสัญญาณรบกวนของการรู้จำเสียงพูดภาษาไทยโดยใช้เทคนิคลดสัญญาณรบกวนแบบปรับตัวได้ |
ปี พ.ศ. 2544 |
35 |
อัลกอริทึมการค้นหาแบบเพชรชนิดไม่สมมาตรแบบปรับตัวได้โดยใช้การปรับย้ายจุดศูนย์กลางสำหรับการประมาณการเคลื่อนที่ในการเข้ารหัสสัญญาณวิดีทัศน์ |
36 |
การประยุกต์ใช้วงจรกรองแบบปรับตัวสำหรับเครื่องรับดีเอสซีดีเอ็มเอแบบหลายอัตราที่ใช้วิธีไบออร์ทอกอนัล |
37 |
การประยุกต์ใช้แบบแผนไบออร์ทอกอนอลกับผู้ใช้อัตราข้อมูลสูงร่วมด้วยการหักล้างสัญญาณแทรกสอดสำหรับระบบดีเอสซีดีเอ็มเอแบบหลายอัตราที่ใช้แบบแผนหลายรหัส |
38 |
ระบบรู้จำคำเรียกพยัญชนะไทย : การศึกษาการวัดลักษณะสำคัญแบบต่างๆ |
39 |
การแยกตัวอักษรจากลายมือเขียนภาษาไทยที่เป็นคำ |
40 |
บทปริทัศน์บทความเรื่อง วิธีวิทยาการวิจัยสหวิทยาการ : กรณีการวิจัยเทคโนโลยีทางภาษา |
ปี พ.ศ. 2543 |
41 |
การแยกส่วนภาพวัตถุสำหรับการเข้ารหัสสัญญาณวิดีโอ บนพื้นฐานของคอนเทนต์ตามข้อกำหนดของ MPEG-4 |
42 |
การปรับปรุงการหักล้างการแทรกสอดแบบผสม โดยใช้เทคนิคการหักล้างบางส่วนแบบขนาน ในช่องสัญญาณที่มีการลดทอนแบบเรเลย์ ในระบบการสื่อสารแบบแบ่งแยกด้วยรหัสชนิดไดเรกต์ซีเควนซ์ |
43 |
การบีบอัดเสียงพูดภาษาไทยโดยใช้การเข้ารหัส MP-CELP ตามข้อกำหนดของ MPEG-4 |
44 |
การรู้จำตัวอักษรเขียนภาษาไทยที่เป็นคำแบบออฟไลน์โดยใช้หลักเกณฑ์ทางฟัซซีร่วมกับคุณลักษณะบ่งความต่าง |
45 |
มัลติยูสเซอร์ดีเทกชันแบบนำข้อมูลที่ตัดสินแล้วมาป้อนกลับ ที่ใช้กระบวนการปรับอัตโนมัติชนิดบอด สำหรับระบบการสื่อสารแบบแบ่งแยกด้วยรหัสชนิดไดเรกซีเควนซ์แบบหลายอัตรา |
46 |
การรู้จำตัวอักษรเขียนภาษาไทยโดยใช้วิธีสแกนนิ่งเอ็น-ทูเปิ้ล |
47 |
อัลกอริทึมการเข้าคู่บล็อก การค้นหาแบบไฮบริดชนิดปรับตัวได้แบบใช้การปรับย้ายจุดศูนย์กลาง สำหรับการประมาณการเคลื่อนที่ในการเข้ารหัสสัญญาณวีดิทัศน์ |
ปี พ.ศ. 2542 |
48 |
ระบบบ่งชี้ผู้พูดแบบระบบเปิดโดยใช้แบบจำลองฮิตเดนมาร์คอฟแบบหลายชุดรหัส |
49 |
การประมาณหาที่ตั้งแหล่งกำเนิดสัญญาณจากการวัดมุมทิศ โดยใช้วิธีการพัฒนาคาลมานฟิลเตอร์แบบขยาย |
50 |
การประมาณที่ตั้งแหล่งกำเนิดสัญญาณ ที่ทนต่อสัญญาณรบกวนจากการวัดมุมทิศ โดยใชัอัลกอริทึมแบบไอเอ็มเอ็ม |
51 |
มัลติยูสเซอร์ดีเทกชันแบบป้อนกลับที่ใช้กระบวนการปรับอัตโนมัติชนิดบอดสำหรับระบบการสื่อสารแบบแบ่งแยกด้วยรหัสชนิดไดเรกต์ซีเควนซ์ |
52 |
ระบบการรู้จำผู้พูด : การบ่งชี้ผู้พูดแบบขึ้นกับบทคำพูด |
ปี พ.ศ. 2541 |
53 |
โปรแกรมบีบอัด วิเคราะห์และปรับปรุงคุณภาพสัญญาณภาพดิจิตอล : รายงาน โครงการสิ่งประดิษฐ์ |
54 |
การประยุกต์การประมวลผลภาพในการตรวจพินิจล้ออลูมินัมอัลลอย |
55 |
ขั้นตอนการหาขอบเขตพยางค์สำหรับคำพูดต่อเนื่องภาษาไทย |
56 |
การรู้จำหน่วยเสียงสระภาษาไทยโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียม |
57 |
การรู้จำตัวอักษรเขียนภาษาไทยโดยใช้การวิเคราะห์ลักษณะบ่งความต่าง |
ปี พ.ศ. 2540 |
58 |
การรู้จำเสียงพูดภาษาไทย ระยะที่หนึ่ง : การรู้จำเสียงพูดคำไทยโดดๆ โดยไม่ขึ้นกับผู้พูด |
59 |
การรู้จำเสียงคำไทยหลายพยางค์แบบไม่ขึ้นกับผู้พูด โดยใช้เทคนิคแบบฟัซซีและนิวรอลเน็ตเวิร์ก |
ปี พ.ศ. 2539 |
60 |
การประมาณหาที่ตั้งแหล่งกำเนิดสัญญาณจากการวัดมุมทิศ โดยใช้วิธีคาลแมนฟิลเตอร์แบบยืดขยาย |
61 |
ระบบรู้จำอักษรภาษาไทยโดยใช้ลักษณะบ่งความต่างของตัวอักษรไทย |
62 |
การรู้จำสายอักขระไทยตัวพิมพ์โดยวิธีซินแทกติก |
ปี พ.ศ. 2538 |
63 |
การรู้จำเสียงพูดสระภาษาไทยโดดๆ ไม่ขึ้นกับผู้พูด โดยการวัดสเปกตรัมดิสแตนช์และใช้ไดนามิกไทม์วาร์ปปิง |
64 |
การรู้จำเสียงพูดตัวเลขเป็นภาษาไทยแบบไม่ขึ้นกับผู้พูด โดยวิธีฮิดเดนมาร์คอฟโมเดล และเวกเตอร์ควอนไตซ์เซชัน |
65 |
การบีบย่อเสียงพูดโดยใช้การแปลงเวฟเลตและแอลพีซีเวกเตอร์ควอนไทเซ ชัน |
66 |
การรู้จำตัวอักษรพิมพ์ภาษาไทยโดยใช้นิวรอลเน็ตเวิร์ก และวิธีซินแทกติก |
ปี พ.ศ. 2537 |
67 |
การศึกษาการรู้จำตัวอักษรพิมพ์ภาษาไทยโดยวิธีซินแทกติก |
68 |
การศึกษาการรู้จำตัวเลขไทยแบบตัวพิมพ์โดยวิธีซินแทกติก |
ปี พ.ศ. 2531 |
69 |
การออกแบบและสร้างเครื่องให้สารละลายคนไข้ ควบคุมโดยไมโครโปรเซสเซอร์ |
ปี พ.ศ. 2527 |
70 |
การวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม |
ปี พ.ศ. 2524 |
71 |
การศึกษาความเป็นได้ในการจำแนกพื้นที่เพาะปลูกข้าวโพดด้วยคอมพิวเตอร์จากข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากร |