ปี พ.ศ. 2558 |
1 |
การสร้างเส้นทางเดินในปริภูมิรูปภาพสำหรับหุ่นยนต์เคลื่อนที่ด้วยล้อ |
2 |
การสร้างเส้นทางเดินในปริภูมิรูปภาพสำหรับหุ่นยนต์เคลื่อนที่ด้วยล้อ |
3 |
การควบคุมการนำทางโดยใช้จีพีเอสของอากาศยานสี่ใบพัด |
ปี พ.ศ. 2556 |
4 |
การติดตามวัตถุที่เคลื่อนที่โดยใช้หุ่นยนต์พิกัดฉาก 3 แกนอาศัยการขับเคลื่อนเชิงภาพ |
5 |
การลงจอดอัตโนมัติสำหรับอากาศยาน 4 ใบพัดโดยใช้ระบบการเห็นภาพ |
6 |
ระบบควบคุมแบบพลศาสตร์ผกผันที่มีความคงทนสำหรับอากาศยานสี่ใบพัด |
7 |
การติดตามวัตถุหลายชิ้นด้วยภาพสเตอริโอเพื่อใช้ในระบบควบคุมตำแหน่งในพิกัด 3 มิติ |
ปี พ.ศ. 2555 |
8 |
เครื่องดึงกระดูกสันหลังที่ควบคุมการทำงานด้วยคอมพิวเตอร์ |
9 |
การควบคุมแรงสำหรับการเจียระไนพลอยด้วยเครื่องเจียระไนพลอยจุฬาแบบอัตโนมัติ |
10 |
แขนกล 6 องศาอิสระ 2 แขน ที่ทำงานแบบแขนกลนำและแขนกลตามแบบมีแรงสะท้อนกลับ สำหรับงานขนาดเล็ก |
11 |
ขอบเขตตรึงเสมือนแบบแฮปติกสำหรับช่วยการทำงานแบบแขนกลนำและแขนกลตาม |
ปี พ.ศ. 2554 |
12 |
การควบคุมแรงและตำแหน่งของแขนกลลูกผสมแบบขนาน 5 แกน ตระกูลเอช-4 ในขณะทำการกัดชิ้นงาน |
ปี พ.ศ. 2552 |
13 |
แบบจำลองทางพลศาสตร์ของแขนกลที่มีความหยุ่นตัวที่ใช้ในงานระยะเอื้อมไกล |
14 |
เครื่องวัดพิกัด 3 มิติแบบเคลื่อนย้ายได้ |
ปี พ.ศ. 2551 |
15 |
การสอบเทียบระบบกลไกแขนกลแบบขนาน |
16 |
โปรแกรมแปลรหัสเอ็นซีสำหรับแขนกลแบบขนานในตระกูล H-4 กับโต๊ะหมุน รวมเป็น 5 แกน |
17 |
การสอบเทียบระบบกลไกแขนกลแบบขนาน |
ปี พ.ศ. 2550 |
18 |
การพัฒนาความสามารถในการตัดสำหรับกระบวนการกลึงเหล็กกล้าคาร์บอนสำหรับชิ้นส่วนยานยนต์โดยการประยุกต์ใช้ปริมาณสารหล่อเย็นน้อยที่สุดบนเครื่องกลึงซีเอ็นซี |
19 |
การควบคุมแบบอิมพิแดนซ์ของหุ่นยนต์สำหรับทำงานร่วมกับมนุษย์ |
20 |
การวิเคราะห์ทางคิเนแมติกส์และไดนามิกส์ของแขนกล PA10-7C |
21 |
การควบคุมแรงแบบฝังตัว สำหรับแขนกลลูกผสมแบบขนาน 5 แกนตระกูลเอช-4 |
ปี พ.ศ. 2549 |
22 |
การทำงานแบบมาสเตอร์-สเลฟของแขนกลแฮบติคหกองศาอิสระแบบใหม่ที่มีโครงสร้างแบบขนานสำหรับงานสร้างชิ้นงานต้นแบบ |
23 |
ระบบควบคุมขั้นสูงสำหรับระบบรักษาเสถียรภาพของกิมเบล |
24 |
การออกแบบและสร้างเครื่องเจียระไนพลอยแบบอัตโนมัติ |
ปี พ.ศ. 2548 |
25 |
ระบบติดตามอนุภาคใน 3 มิติโดยใช้ภาพสเตอริโอ |
ปี พ.ศ. 2547 |
26 |
การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ภาคสนามโดยใช้กลไก Rocker-bogie |
27 |
เครื่องวัดพิกัด 3 มิติโดยใช้ภาพสเตอริโอ |
28 |
การพัฒนาโปรแกรมแปลรหัสเอ็นซีสำหรับตัวควบคุมซีเอ็นซีแบบสถาปัตยกรรมเปิด |
29 |
การควบคุมระยะไกลที่มีเวลาหน่วงโดยใช้ตัวแปรคลื่น |
30 |
การพัฒนาเทคนิคขั้นสูงสำหรับการวัดพิกัด 3 มิติ ของวัตถุที่มีผิวซับซ้อนโดยใช้ภาพสเตอรีโอ |
31 |
การออกแบบและวิเคราะห์แบบใหม่สำหรับแขนกลแบบขนานในตระกูลเอช-4 พร้อมด้วยการควบคุมแรง |
32 |
การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ภาคสนาม โดยใช้กลไก ROCKER-BOGIE |
33 |
การพัฒนาโปรแกรมแปลรหัสเอ็นซี สำหรับตัวควบคุมซีเอ็นซี แบบสถาปัตยกรรมเปิด |
34 |
เครื่องวัดพิกัด 3 มิติ โดยใช้ภาพสเตอริโอ |
35 |
การย้อมผ้าไหมด้วยสีจากเปลือกมะพร้าวแก่ |
ปี พ.ศ. 2546 |
36 |
การออกแบบและพัฒนาอุปกรณ์แฮบติคที่มี 6 องศาอิสระโดยใช้โครงสร้างแบบขนาน |
ปี พ.ศ. 2545 |
37 |
อุปกรณ์ตรวจรู้แรงสามแกนชนิดสเตรนเกจสำหรับเครื่องกัด |
38 |
การประยุกต์ใช้กระบวนการรังวัดบนภาพถ่ายระยะใกล้สำหรับการวัดละเอียดสูง |
39 |
เครื่องวัดพิกัด 3 มิติ แบบข้อต่อ 6 แกน |
ปี พ.ศ. 2544 |
40 |
การออกแบบและพัฒนามาสเตอร์อาร์มสำหรับระบบสะท้อนแรง |
41 |
การหาค่าพารามิเตอร์ของแขนกลความเร็วสูงแบบออนไลน์ |
42 |
เครื่องวัดพิกัด 3 มิติ แบบใช้แถบแสงเลเซอร์และกล้องตัวเดียว / |
43 |
กระบวนการออกแบบอย่างเป็นระบบเพื่อให้ได้อุปกรณ์ตรวจรู้แรงสำหรับหุ่นยนต์ที่มีสมรรถนะเหมาะสมที่สุด |
44 |
การออกแบบและการควบคุมแขนกลที่มีโครงสร้างแบบสจ๊วต |
45 |
การพัฒนาระบบการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการผลิตชิ้นงานสามมิติโดยใช้พาราโซลิดเคอร์เนล |
46 |
การพัฒนาและออกแบบหุ่นยนต์เดินแบบหกขาอิสระ |
47 |
การพัฒนาระบบสร้างแบบจำลองสามมิติแบบโซลิดโดยใช้พาราโซลิดเคอร์เนล |
ปี พ.ศ. 2543 |
48 |
การนำเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์ |
ปี พ.ศ. 2542 |
49 |
การควบคุมหน่วยการผลิตอัตโนมัติขนาดเล็กและกลางผ่านเครือข่าย |
50 |
การพัฒนาสภาวะการทำงานบนเครือข่าย สำหรับระบบปฏิบัติการระยะไกลบนอินเตอร์เน็ตเพื่อระบบการผลิต |
51 |
การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิตร่วมกับออโตแคดโดยใช้ ARX |
52 |
การควบคุมแบบไฮบริดด้วยแรงแบบอิมพลิซิตสำหรับแขนกล |
53 |
การออกแบบและพัฒนาหุ่นยนต์เดินบนระนาบแบบขนาน |
54 |
การควบคุมหุ่นยนต์เคลื่อนที่ด้วยล้อที่สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ |
55 |
การออกแบบแขนกลที่ทำงานด้วยความเร็วสูง |
56 |
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่ช่วยวิเคราะห์กลไกแบบปิด |
ปี พ.ศ. 2541 |
57 |
ทฤษฎีและการสร้างหุ่นยนต์อุตสาหกรรม |
ปี พ.ศ. 2540 |
58 |
การพัฒนาโพสต์โปรเซสเซอร์สำหรับระบบการผลิตอัตโนมัติ |
ปี พ.ศ. 2539 |
59 |
โปรแกรมถอดรหัสเอชพีจีแอลสำหรับโต๊ะเอ็กซ์วายแซด |
60 |
การควบคุมแขนกลแบบผสมระหว่างแรงและตำแหน่ง |
61 |
การนำระบบควบคุมแบบฟัซซีมาใช้ควบคุมการทำงาน ของระบบตุ้มน้ำหนักแกว่ง |
ปี พ.ศ. 2538 |
62 |
อุปกรณ์ตรวจรู้แรงสำหรับงานควบคุมแขนกล |
63 |
เครื่องป้อนชิ้นงานอัตโนมัติสำหรับการผลิตเปลือกหุ้มคอมเพรสเซอร์ |
64 |
เทคนิคการควบคุมแบบดิจิตอลสำหรับติดตามคอนทัวร์ 3 มิติ |
ปี พ.ศ. 2537 |
65 |
การศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับงานทะเบียนและประมวลผล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
66 |
แบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับแขนกลแบบหยุ่นตัวเพื่อประยุกต์ในงานควบคุม |
ปี พ.ศ. 2535 |
67 |
การออกแบบและควบคุมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมชนิด 3 ข้อต่อ ที่มีการเคลื่อนที่แบบพิกัดฉาก : รายงานผลการวิจัย |
68 |
การควบคุมแขนกลมาสเตอร์-สเลฟจุฬา 2 ด้วยไมโครคอมพิวเตอร์ |
69 |
การออกแบบและควบคุม หุ่นยนต์อุตสาหกรรมชนิด 3 ข้อต่อ ที่มีการเคลื่อนที่แบบพิกัดฉาก |
ปี พ.ศ. 2532 |
70 |
การแปลงข้อมูลรูปภาพจากโปรแกรมที่ช่วยในการออกแบบไปเป็นข้อมูล สำหรับโปรแกรมวิเคราะห์แบบ |
ปี พ.ศ. 2531 |
71 |
การควบคุมแบบย้อนกลับของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมชนิดสามแกนหมุน |
72 |
ทฤษฎีและการสร้างโต๊ะตัดแผ่นเหล็กด้วยเปลวไฟ ที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ : รายงานผลการวิจัย |
73 |
การควบคุม พี.ไอ.ดี.พี ของโต๊ะตัดแผ่นเหล็กด้วยเปลวไฟ |
74 |
การประยุกต์ใช้ระบบควบคุมแบบป้อนกลับสำหรับสเตปปิ้งมอเตอร์กับโต๊ะ X-Y |
75 |
การส่งข้อมูลระหว่างไพร์ม เมดูซา และเครื่องมือวิลด์ เพื่อการทำแผนที่ด้วยคอมพิวเตอร์ |
76 |
การควบคุมแขนกลสามแกนแบบ พี ไอ ดี |
ปี พ.ศ. 2530 |
77 |
การควบคุมแบบออปทิมัลของโต๊ะตัดแผ่นเหล็กด้วยเปลวไฟ |
78 |
การประมาณค่าพารามิเตอร์สำหรับการออกแบบระบบควบคุมของระบบเชิงกล |