ปี พ.ศ. 2557 |
1 |
ศูนย์วิจัยพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี |
ปี พ.ศ. 2556 |
2 |
ศูนย์วิจัยพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี |
3 |
แบบแผนการแสดงออกและทบทวนของ Wnt/B-catenin |
4 |
การยับยั้งการส่งสัญญาณภายในเซลล์เนื่องจากการกระตุ้น ATAT3 โดย IL-6 ในเซลล์มะเร็งท่อน้ำดีของมนุษย์เป็นเป้าหมายการออกฤทธิ์ของเคมีต้านมะเร็ง |
5 |
แบบแผนการแสดงออกและทบทวนของ Wnt/B-catenin |
6 |
การยับยั้งการส่งสัญญาณภายในเซลล์เนื่องจากการกระตุ้น ATAT3 โดย IL-6 ในเซลล์มะเร็งท่อน้ำดีของมนุษย์เป็นเป้าหมายการออกฤทธิ์ของเคมีต้านมะเร็ง |
ปี พ.ศ. 2555 |
7 |
ศูนย์วิจัยพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี |
8 |
การศึกษาวิจัยระยะที่ 3 แบบสุ่ม เพื่อเปรียบเทียบการรักษาด้วยยานิโลตินิบ 800 มิลลิกรัมกับยาอิมาตินิบ 800 มิลลิกรัม ในผู้ป่วยที่มีอาการลุกลาม และ/หรือ มีการแพร่กระจายของมะเร็งเนื้อเยื่อระบบทางเดินอาหารที่ดื้อต่อยาอิมาตินิบ 400 มิลลิกรัม |
9 |
ศูนย์วิจัยพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี |
10 |
Biomarkers of Opisthorchis viverrini-induced Cholangiocarcinoma |
11 |
การศึกษาวิจัยระยะที่ 3 แบบสุ่ม เพื่อเปรียบเทียบการรักษาด้วยยานิโลตินิบ 800 มิลลิกรัมกับยาอิมาตินิบ 800 มิลลิกรัม ในผู้ป่วยที่มีอาการลุกลาม และ/หรือ มีการแพร่กระจายของมะเร็งเนื้อเยื่อระบบทางเดินอาหารที่ดื้อต่อยาอิมาตินิบ 400 มิลลิกรัม |
ปี พ.ศ. 2554 |
12 |
ไอโซฟอร์มของเทรฟอยล์แฟคเตอร์ 2 ในการพยากรณ์โรคมะเร็งท่อน้ำดี |
13 |
ศูนย์วิจัยพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี |
14 |
การศึกษาทางคลินิกระยะที่ II ของยาแคลซิไทออล เมื่อให้ร่วมกับยาเคมี 5-fluorouracil, Mitomycin C และ Leucovorin แบบเปิดและไม่สุ่มเพื่อประเมินการตอบสนองที่ปรากฎในผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีในตับระยะสุดท้าย |
ปี พ.ศ. 2553 |
15 |
การศึกษาทางคลินิกระยะที่ II ของยาแคลซิไทออล เมื่อให้ร่วมกับยาเคมี 5-fluorouracil, Mitomycin C และ Leucovorin แบบเปิดและไม่สุ่มเพื่อประเมินการตอบสนองที่ปรากฎในผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีในตับระยะสุดท้าย |
16 |
กลไกการเกิดโรคมะเร็งที่เกิดจากการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับในประเทศไทย |
17 |
บทบาทของเอนไซม์ NQO1 ต่อความไวต่อมะเร็งพยากรณ์โรคและเป้าหมายของยารักษามะเร็ง |
18 |
ศูนย์วิจัยพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี |
19 |
บทบาทของเอนไซม์ NQO1 ต่อความไวต่อมะเร็ง พยากรณ์โรค และเป้าหมายของยารักษามะเง |
ปี พ.ศ. 2552 |
20 |
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพและการวิเคราะห์ต้นทุนของท่อระบายน้ำดีชนิดโลหะและพลาสติก ในผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีที่ขั้วตับที่ไม่สามารถผ่าตัดได้ |
21 |
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพและการวิเคราะห์ต้นทุนของท่อระบายน้ำดีชนิดโลหะและพลาสติกในผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีที่ขั้วตับที่ไม่สามารถผ่าตัดได้ |
22 |
ความสัมพันธ์ของชนิดโปรตีน CagA และ subtype ของจีน vacA ในเชื้อเฮลิโคแยคเตอร์ พายโลไร กับการเกิดโรคมะเร็งท่อน้ำดี |
23 |
ชนิดและคุณลักษณะของแมคโครฟาจที่สัมพันธ์กับมะเร็งท่อน้ำดีและการประยุกต์ใช้ |
24 |
ศูนย์วิจัยพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี |
ปี พ.ศ. 2551 |
25 |
กลไกการทำงานระดับโมเลกุลของจีน PRKAR1A เพื่อใช้เป็นเป้าหมายในการรักษาโรคมะเร็งท่อน้ำดี |
26 |
การตรวจหาชนิดของเชื้อ Helicobacter ในผู้ป่วยใรคระบบตับและท่อน้ำดี |
27 |
ศูนย์วิจัยพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี |
28 |
กลไกการทำงานระดับโมเลกุลของจีน PRKAR1A เพื่อใช้เป็นเป้าหมายในการรักษาโรคมะเร็งท่อน้ำดี |
29 |
การตรวจหาชนิดของเชื้อ Helicobacter ในผู้ป่วยโรคระบบตับและท่อน้ำดี |
ปี พ.ศ. 2550 |
30 |
การตรวจระดับของเอนไซม์ดิสอินทิกริน/เมทัลโลโปรตีเนส (ADAMs) ในซีรัมของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี และศักยภาพในการประยุกต์ใช้ทางคลินิก |
31 |
การประเมินผลกระทบของการรักษาต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และระบบฐานข้อมูลคุณภาพชีวิตในจังหวัดขอนแก่น |
32 |
กลไกการทำงานระดับโมเลกุลของจีน PRKAR1A เพื่อใช้เป็นเป้าหมายในการรักษาโรคมะเร็งท่อน้ำดี |
33 |
ศูนย์วิจัยพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี |
ปี พ.ศ. 2549 |
34 |
การประเมินคุณภาพชีวิต และจัดทำระบบฐานข้อมูลคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ในจังหวัดขอนแก่น |
35 |
ศูนย์วิจัยพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี |
ปี พ.ศ. 2548 |
36 |
กลไกการดื้อยาเคมีบำบัดของเซลล์เพาะเลี้ยงมะเร็งท่อน้ำดีและตัวบ่งชี้ถึงการตอบสนองต่อยาเคมีบำบัดของผู้ป่วยโรคมะเร็งท่อน้ำดี (ปีที่ 2) |
37 |
การหาจำนวนและการแสดงออกของยีนตระกูลทรีฟอยล์ในมะเร็งท่อน้ำดี |
ปี พ.ศ. 2547 |
38 |
กลไกการแพร่กระจายของมะเร็งท่อน้ำดี : ข้อมูลพื้นฐานสู่การยับยั้ง |
39 |
โปรโมเตอร์ไฮเปอร์เมธิเลชั่นของจีนในผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี |
40 |
การขาดหายไป และการแสดงออกของจีน p73 ในมะเร็งท่อน้ำดี |
41 |
ลักษณะทางพันธุกรรมของยีน Lewis และ Secretor ในผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี |
42 |
การวิเคราะห์แบบแผนโปรตีนในซีรัมเพื่อการพยากรณ์โรคมะเร็งท่อน้ำดี |
43 |
การหาจำนวนและการแสดงออกของยีนตระกูลทรีฟอยล์ในมะเร็งท่อน้ำดี |
ปี พ.ศ. 2546 |
44 |
พยาธิวิทยาและกลไกการเกิดมะเร็งท่อน้ำดี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : Loss of Heterozygosity of Chromosome 9p |
45 |
การวิเคราะห์แบบแผนการแสดงออกของยีนในเซลล์มะเร็งท่อน้ำดี โดยใช้เทคนิค SAGE |
46 |
กลไกการเผยแพร่กระจายของมะเร็งท่อน้ำดี :ข้อมูลพื้นฐานสู่การยับยั้ง |
47 |
การพัฒนาและศึกษาคุณสมบัติของเซลล์เพาะเลี้ยงมะเร็งท่อน้ำดีในหลอดทดลอง |
48 |
การวิเคราะห์แบบแผนการแสดงออกของยีนในเซลล์มะเร็งท่อน้ำดีที่อวัยวะต้นกำเนิดโดยใช้เทคนิค SAGE |
ปี พ.ศ. 2545 |
49 |
การทดสอบประสิทธิภาพของยาเคมีบำบัดในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งท่อน้ำดีในหลอดทดลอง |
50 |
พยาธิวิทยาและกลไกการเกิดมะเร็งท่อน้ำดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : Matrix metalloproteinases และความสัมพันธ์กับการพยากรณ์โรค(กำลังดำเนินการ) |
51 |
การติดตามและประเมินผลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งท่อน้ำดีอย่างเป็นระบบ(กำลังดำเนินการ) |
52 |
ปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งท่อน้ำดี เนื่องจากโพลิมอร์ฟิสมของจีนเพอร์บี 11.1 หรือ มิคเอ |
53 |
พยาธิวิทยาและกลไกการเกิดมะเร็งท่อน้ำดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : Loss of heterozygosity of chromosome 9p(กำลังดำเนินการ) |
54 |
การศึกษาประสิทธิภาพของยา Capecitabine (Xeloda) ในผู้ป่วยมะเร็งท่อทางเดินน้ำดี (กำลังดำเนินการ) |
55 |
ความหลากหลายทางลักษณะพันธุกรรมของเอนไซม์เปลี่ยนแปลงยาระยะที่ 2 arylamine N-acetyltransferase-1 และความสัมพันธ์ กับมะเร็งทางเดินน้ำดี |
56 |
กลไกการแพร่กระจายของมะเร็งท่อน้ำดี : ข้อมูลพื้นฐานสู่การยับยั้ง |
57 |
การติดตามและประเมินผลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งท่อน้ำดีอย่างเป็นระบบ(กำลังดำเนินการ) |
ปี พ.ศ. 2544 |
58 |
การติดตามและประเมินผลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งท่อน้ำดีอย่างเป็นระบบ |
ปี พ.ศ. 2543 |
59 |
การศึกษาจีน MHC ในผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี และการแสดงออกของแอนติเจน HLA บนเนื้อเยื่อมะเร็งท่อน้ำดี |
ปี พ.ศ. ไม่ระบุ |
60 |
โปรโมเตอร์ไฮเปอร์เมธิลเลชันของจีนในผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี |
61 |
การศึกษาโปรตีนในน้ำดีที่มีความสัมพันธ์กับมะเร็งท่อน้ำดี |