ปี พ.ศ. 2533 |
1 |
การเปรียบเทียบความบกพร่องในความรู้พื้นฐานวิชาคณิตศาสตร์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพสาขาช่างอุตสาหกรรม กับสาขาพาณิชยกรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล |
2 |
การศึกษาวิเคราะห์พัฒนาการของหลักสูตรคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาสายสามัญ ตั้งแต่พุทธศักราช 2503 ถึงพุทธศักราช 2530 |
3 |
การนำเสนอรูปแบบการสอดแทรกความรู้ด้านจริยธรรม ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น |
4 |
การเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ก่อนและหลังการใช้กิจกรรมเสริมหลักสูตรของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย กรุงเทพมหานคร |
5 |
การเปรียบเทียบความสามารถในกระบวนการคิดแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์ |
6 |
การนำเสนอรูปแบบการสอดแทรกความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น |
ปี พ.ศ. 2532 |
7 |
ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมของนักเรียนตามการรับรู้ ของครูคณิตศาสตร์ และของผู้ปกครองกับผลสัมฤทธ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เขตการศึกษา 3 |
8 |
การปฏิบัติงานการนิเทศการสอนของหัวหน้าหมวดวิชาคณิตศาสตร์ ตามการรับรู้ของครูคณิตศาสตร์ในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตการศึกษา 1 |
9 |
การวิเคราะห์ข้อบกพร่องในการทำแบบทดสอบคณิตศาสตร์แบบอัตนัยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กรุงเทพมหานคร |
10 |
ความสัมพันธ์ระหว่างสัมพันธภาพของครูคณิตศาสตร์กับนักเรียนแรงจูงใจ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กรุงเทพมหานคร |
11 |
ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถภาพของครูคณิตศาสตร์ตามการรับรู้ของตนเอง เจตคติของนักเรียนต่อวิชาคณิตศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เขตการศึกษา 3 |
12 |
การเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูคณิตศาสตร์ ในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่และขนาดกลาง เกี่ยวกับการปฏิบัติงานนิเทศแบบคลีนิคของหัวหน้าหมวดวิชาคณิตศาสตร์ เขตการศึกษา 5 |
ปี พ.ศ. 2531 |
13 |
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทน ในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่อง ความน่าจะเป็นและสถิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สามที่เรียนโดยใช้ระยะเวลาสั้น กับที่เรียนโดยใช้ระยะเวลาปกติ |
14 |
ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเรียน พฤติกรรมการสอน พื้นฐานความรู้ทางคณิตศาสตร์ เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์กับผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เขตการศึกษา 8 |
15 |
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างกลุ่มที่มีการตรวจให้คะแนนการบ้าน กลุ่มที่มีการทดสอบย่อยในเนื้อหาคล้ายการบ้าน และกลุ่มที่มีการทดสอบย่อยด้วยเนื้อหาตามแนวคิดสำคัญ |
ปี พ.ศ. 2530 |
16 |
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ระหว่างกลุ่มที่เรียนโดยใช้ชุดการเรียนการสอนรายบุคคล กับกลุ่มที่เรียนจากเพื่อน |
17 |
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ระหว่างกลุ่มที่ใช้บทเรียนแบบโปรแกรมเทปโทรทัศน์ กับกลุ่มที่สอนโดยครู |
18 |
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนอ่อนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่เรียนโดยใช้ชุดการเรียนการสอนรายบุคคล กับกลุ่มที่สอนโดยครู |
ปี พ.ศ. 2529 |
19 |
การทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์โดยคะแนนจากแบบสอบความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และแบบสอบเชาวน์ปัญญาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เขตการศึกษา 9 |
20 |
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนเก่งชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างกลุ่มที่เรียนเสริมจากครูกับกลุ่มที่เรียนด้วยตนเอง |
21 |
ความคิดเห็นของครูคณิตศาสตร์ ในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย และวิทยาลัยเทคนิค เกี่ยวกับการใช้หลักสูตร วิชาคณิตศาสตร์ช่างอุตสาหกรรม |
ปี พ.ศ. 2528 |
22 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ กับเจตคติที่มีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ในกรุงเทพมหานคร |
23 |
ความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและครูคณิตศาสตร์ เกี่ยวกับการพัฒนาการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ของกลุ่มโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตการศึกษา 6 |
24 |
การเปรียบเทียบความต้องการของอาจารย์นิเทศก์ และอาจารย์นิเทศก์ฝ่ายโรงเรียนในการเสริมสมรรถภาพ ด้านการนิเทศการฝึกสอนวิชาคณิตศาสตร์ระดับมมัธยมศึกษา |
25 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถทางด้านเหตุผลเชิงนามธรรม ความคิดสร้างสรรค์และความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่หก ในเขตการศึกษา 10 |
26 |
ความต้องการการเสริมสมรรถภาพทางการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ของครูคณิตศาสตร์ ในโรงเรียนมัธยมศกึษา เขตการศึกษา 10 |
27 |
ความคิดเห็นของอาจารย์และนักศึกษา เกี่ยวกับปัญหาการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ในหมวดวิชาพื้นฐานของวิทยาลัยเอกชน ในกรุงเทพมหานคร |
28 |
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนกลุ่มอ่อนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างกลุ่มที่เรียนเสริมจากครู กับกลุ่มที่เรียนเสริมจากเพื่อนนักเรียน |
29 |
ความคิดเห็นของอาจารย์และนักศึกษาแผนกพณิชยการ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา เกี่ยวกับการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ |
30 |
การเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูคณิตศาสตร์เกี่ยวกับปัญหา การสอนซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในโรงเรียนรัฐบาล เขตการศึกษา 7 |
31 |
ความต้องการของครูคณิตศาสตร์ในการนำนวัตกรรมทางการศึกษาไปใช้ ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร |
ปี พ.ศ. 2526 |
32 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถด้านจำนวน มิติสัมพันธ์ และเหตุผลเชิงนามธรรม กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 |
33 |
ปัจจัยที่จูงใจในการเลือกวิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาเอก ของนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร |
34 |
ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบบางประการ ซึ่งไม่ใช่ความสามารถทางสติปัญญา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 |
ปี พ.ศ. 2525 |
35 |
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตที่ใช้และไม่ใช้ ชุดการสอนสำหรับวิชาพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ |
36 |
ผลของการอธิบายก่อนและหลังทำการบ้านและหลังการตรวจ ซึ่งมีต่อเจตคติและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 |
37 |
การเปรียบเทียบผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง "ความยาว พื้นที่และปริมาตร" โดยการสอนตามลำดับขั้นการเรียนรู้ ของกาญเยกับการสอนแบบบอกให้รู้ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 |
ปี พ.ศ. 2524 |
38 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการคิดหาเหตุผลเชิงตรรกศาสตร์ กับผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายมัธยม) |
39 |
ลำดับการเกิดกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ |
40 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สามในกรุงเทพมหานคร |
41 |
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง "เส้นตรง" โดยใช้ศูนย์การเรียน กับการเรียนเป็นชั้นปกติ |
42 |
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ด้านพุทธิพิสัยในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างการใช้กลวิธีการเรียนรู้ของบลูมกับแผนการเรียนการสอนของเคลเลอร์ |
43 |
การทดลองใช้บทเรียนแบบโปรแกรมกับนักเรียนที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนแตกต่างกัน |
ปี พ.ศ. 2523 |
44 |
ความสัมพันธ์ระหว่างสัมฤทธิผลในการเรียนกับสมรรถภาพในการสอน ของนักศึกษาวิชาเอกสังคมศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง |
45 |
ความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถภาพครูคณิตศาสตร์ |
46 |
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง "เวคเตอร์" โดยวิธีสอนแบบผสมกับวิธีสอนแบบบอกให้รู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 |
47 |
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง "อัตราส่วนและร้อยละ" โดยใช้สื่อประสมกับวิธีสอนแบบบอกให้รู้ |
48 |
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสถิติโดยวิธีสอนแบบบรรยาย กับวิธีสอนโดยใช้บทเรียนแบบโปรแกรมประกอบการอภิปราย ในระดับประโยควิชาชีพเกษตร |
49 |
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง "ภาคตัดกรวย" โดยวิธีสอนแบบอธิปรายกับวิธีสอนแบบบอกให้รู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 |
ปี พ.ศ. 2522 |
50 |
การเปรียบเทียบการประเมินสมรรถภาพครูวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยนักเรียนและตัวครูเอง |
51 |
การสร้างชุดการสอนตามเอกัตภาพวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง "ความน่าจะเป็นเบื้องต้น" สำหรับระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
ปี พ.ศ. 2521 |
52 |
การสร้างชุดการสอนตามเอกัตภาพวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง "พื้นที่รูปเรขาคณิตบนระนาบเดียว" สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น |
53 |
การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง "คัลคูลัสเบื้องต้น" สำหรับระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
54 |
การสร้างชุดการสอนตามเอกัตภาพวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง "เซ็ต" สำหรับระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา |
55 |
การสร้างชุดการสอนตามเอกัตภาพวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรของรูปทรงตัน สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น |
56 |
การสรัางบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง "ตรรกศาสตร์เบื้องต้น" สำหรับระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
57 |
การผลิตและการใช้ครูคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา |
ปี พ.ศ. 2520 |
58 |
การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง "ฟังค์ชั่นตรีโกณมิติ" สำหรับระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
59 |
การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง "อันดับและอนุกรม" สำหรับระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
60 |
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ โดยวิธีเรียนเป็นคณะกับเรียนเป็นชั้นปกติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สอง |
61 |
ปัญหาการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
62 |
การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาสถิติเรื่อง "การแจกแจงความถี่และการกำหนดตำแหน่งข้อมูล สำหรับประดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา |
63 |
การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง "เส้นตรง" สำหรับระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
ปี พ.ศ. 2519 |
64 |
การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาสถิติเรื่อง "การวัดความโน้มเอียงเข้าสู่ส่วนกลางและการกระจาย" สำหรับระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
ปี พ.ศ. 2518 |
65 |
การเตรียมครูสังคมศึกษาของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |