ปี พ.ศ. 2560 |
1 |
การใช้วัสดุเศษเหลือของอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มเพื่อผลิตสารอาหารร่วมและหัวเชื้อเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพและผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่ม ปีที่2 |
2 |
การผลิตไฮโดรเจนและมีเทน (ไบโอไฮเทน) จากน้ำทิ้งโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มโดยใช้กระบวนการหมักไร้อากาศแบบสองขั้นตอนที่อุณหภูมิสูงและการประยุกต์ใช้ไบโอไฮเทน |
3 |
การใช้วัสดุเศษเหลือของอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มเพื่อผลิตสารอาหารร่วมและหัวเชื้อเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพและผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่ม ปีที่ 2 |
4 |
พลังงานชีวภาพและผลิตภัณฑ์ชีวภาพจากวัสดุเศษเหลือของปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน |
ปี พ.ศ. 2557 |
5 |
การใช้วัสดุเศษเหลือของอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มเพื่อผลิตสารอาหารร่วมและหัวเชื้อเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพและผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่ม |
ปี พ.ศ. 2555 |
6 |
การบำบัดน้ำทิ้งจากการผลิตก๊าซชีวภาพของโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มโดยใช้กลุ่มเชื้อจากสารพด.1 และ พด. 2 |
ปี พ.ศ. 2554 |
7 |
ปัจจัยที่มีผลต่อการเริ่มต้นระบบในการผลิตก๊าซไฮโดรเจนจากน้ำทิ้งโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มโดยใช้เชื้อ Thermoanaerobacterium thermosaccharolyticum PSU-2 และเชื้อผสมจากธรรมชาติ |
8 |
ปัจจัยที่มีผลต่อการกำจัดสีของน้ำทิ้งโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม |
9 |
การหาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิต 1,3-โพรเพนไดออลจากกลีเซอรอลที่เป็นวัสดุเศษเหลือจากโรงงานไบโอดีเซลโดยเชื้อ E-coil ที่ผ่านการตัดต่อยีนด้วยระบบการตรึงเซลล์ |
10 |
การประยุกต์ใช้เอนไซม์ทางการค้า และจุลินทรีย์ที่คัดเลือกได้ในการเก็บเกี่ยวน้ำมันจากน้ำทิ้งโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม |
ปี พ.ศ. 2553 |
11 |
การใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มเพื่อผลิตสาร ออกฤทธิ์ชีวภาพด้วยกระบวนการหมัก |
12 |
การผลิตพอลิเมอร์ที่มีคุณสมบัติเป็นสารช่วยตกตะกอนจากแบคทีเรียที่คัดเลือกได้และการประยุกต์ใช้ในการแยกของแข็งและน้ำมันจากน้ำทิ้งโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม |
13 |
การพัฒนากระบวนการผลิตมีเทนจากน้ำหมักหลังการผลิตไฮโดรเจนโดยกลุ่มจุลินทรีย์แบบไร้อากาศที่อุณหภูมิสูงฃและอุณหภูมิห้อง |
14 |
การผลิตไฮโดรเจนแบบอัตราสูงจากน้ำทิ้งโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มที่อุณหภูมิสูงด้วยเชื้อ Thermoanaerobacterium thermosaccharolyticum PSU-2 และเชื้อผสมธรรมโดยใช้ถังปฏิกรณ์ ASBR และศึกษาการควบคุมระบบแบบต่อเนื่อง |
15 |
การใช้ Bacillus subtilis A2 ที่ผลิตเอนไซม์เซลลูเลส และไซลาเนสในการแยกน้ำมันจากน้ำทิ้ง โรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม |
ปี พ.ศ. 2552 |
16 |
การผลิตเชื้อเพลิงแข็งจากเส้นใยและกากปาล์มน้ำมัน |
ปี พ.ศ. 2551 |
17 |
การแยก คัดเลือกและจำแนกเชื้อจุลินทรีย์ที่ผลิต 1,3 โพรเพนไดออลจากกลีเซอรอลที่เหลือจากการผลิตไบโอดีเซล |
18 |
Poly-beta-hydroxyalkanoate production by halotolerant Rhodobacter sphaeroides U7 |
19 |
การผลิตแคโรตินอยด์จากการรวมวิถิการสังเคราะห์แคโรตินอยด์ของแบคทีเรียสังเคราะห์แสง |
20 |
การใช้ประโยชน์จากกลีเซอรอลของโรงงานผลิตไบโอดีเซลเพื่อผลิตสารตั้งต้นของพอลิเมอร์ด้วยกระบวนการทางชีวภาพ โดยเชื้อ E.coli ที่ผ่านการตัดต่อยีน |
21 |
การใช้ Bacillus sp.A2 ที่ผลิตเอนไซม์เซลลูเลสและไซลาเนสในการแยกน้ำมันจากน้ำทิ้งโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม |
22 |
การแยกน้ำมันจากน้ำทิ้งของโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มโดยใช้เชื้อผสมที่ชอบอุณหภูมิเปรียบเทียบกับการใช้เอนไซม์มิสูง |
ปี พ.ศ. 2550 |
23 |
การผลิตแบคทีเรียสังเคราะห์แสงจากทะเลที่ผลิตกรดอะมิโนลีวูลินิก และการนำไปใช้ประโยชน์ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ” |
24 |
การแยกและจำแนกเชื้อจุลินทรีย์ที่ผลิต 1,3-โพรเพนไดออลจากกลีเซอรอลที่เหลือจากการผลิตไบโอดีเซล |
25 |
การผลิตโคพอลิเมอร์จากแบคทีเรียสังเคราะห์แสงสายพันธุ์กลายในน้ำทิ้งโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม |
26 |
Effect of co-substrate on production of poly-b-hydroxybutyrate (PHB) and copolymer PHBV from newly identified mutant Rhodobacter sphaeroides U7 cultivated under |
27 |
การผลิต 1,3 โพรเพนไดออลจากเชื้อ Klebsiella pneumoniae |
28 |
การบำบัดน้ำเสียของโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มเพื่อการนำกลับมาใช้ใหม่ |
29 |
การใช้กลีเซอรอลจากโรงงานผลิตไบโอดีเซลเพื่อผลิต 1,3โพรเพนไดออลในระดับโรงงานต้นแบบ |
30 |
การประยุกต์ใช้เอนไซม์ทางการค้าในการเก็บเกี่ยวน้ำมันจากน้ำทิ้งโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มและกากตะกอนลอยของระบบบำบัดน้ำเสีย |
31 |
การใช้กลีเซอรอลจากโรงงานผลิตไบโอดีเซลเพื่อผลิตเอทานอลโดยแบคทีเรีย |
ปี พ.ศ. 2549 |
32 |
การประยุกต์การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมภายในห่วงโซ่การผลิตกุ้งขาวแช่เยือกแข็ง |
33 |
ผลของแหล่งคาร์บอนและไนโตรเจนต่อการผลิต 1,3 โพรเพนไดออลจากเชื้อ Klebsiella pneumoniae su6 |
34 |
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มดิบผสมและน้ำมันกรดทีสกัดได้จากบ่อบำบัดน้ำเสียของโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม |
35 |
การผลิต และคุณสมบัติของพอลิเมอร์จากวัสดุเศษเหลือโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม |
36 |
Isolation and Selection of Microorganism enable to produce 1,3-Propanediol from Glycerol residues of Biodiesel Production |
37 |
กลไกการสังเคราะห์กรดโพลีกลูตามิก |
38 |
การใช้แบคทีเรียทนร้อนที่ผลิตพอลิเมอร์ชีวภาพในการบำบัดน้ำทิ้งโรงงานอุตสาหกรรมสกัดน้ำมันปาล์ม |
39 |
การผลิตเชื้อเพลิงแข็งจากเส้นใยและกากปาล์มน้ำมัน |
40 |
การผลิตกรด 5-อะมิโนโพลีวูลิกและไฮโดรเจนจากแบคทีเรียสังเคราะห์แสง |
41 |
การผลิตไบโอไฮโรเจนและไบโอมีเทนจากกระบวนการหมักน้ำทิ้งโรงงาน |
42 |
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มดิบผสมและน้ำมันกรดจากบ่อบำบัดน้ำเสียที่มีกรดไขมันอิสระสูงของโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม |
43 |
การผลิตเอทานอลโดยใช้กลีเซอรอลจากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล |
44 |
การแยกน้ำมันและของแข็งออกจากน้ำทิ้งของโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มด้วยวิธีการทางชีวภาพโดยใช้เอนไซม์และจุลินทรีย์ |
45 |
การแยกและจำแนกเชื้อจุลินทรีย์ที่ผลิต 1,3-โพรเพนไดออลจากกลีเซอรอลที่เหลือจากการผลิตไบโอดีเซล |
ปี พ.ศ. 2548 |
46 |
ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกรดอะมิโนลีวูลินิก ของแบคทีเรียสังเคราะห์แสงทนเค็มสายพันธุ์กลาย และการประยุกต์ใช้ในการเลี้ยงปลานิลแดง |
ปี พ.ศ. 2547 |
47 |
ผลของโปรตีนไฮโดรไลเสตต่อการผลิตกรอ 5-อะมิโนลีวูลินิกจากแบคทีเรียสังเคราะห์แสง 2 สายพันธุ์และใช้เป็นสารกำจัดแมลงศัตรูพืช |
48 |
ผลของเกลือแร่ต่อการผลิตกรด 5-อะมิโนลีวูลินิกจากแบคทีเรียสังเคราะห์แสงทนเค็มและการใช้เป็นสารเร่งการเจริญเติบโตของพืช |
49 |
ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตยีสต์สกัดจากการตะกอนยีสต์โรงงานเบียร์ |
50 |
สารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพจากจุลินทรีย์ในทะเลในประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2546 |
51 |
การศึกษากลุ่มไนตริไฟอิงแบคทีเรียในนากุ้งโดยใช้เทคนิคเชิงโมเลกุล |
52 |
การสกัดสารที่มีมูลค่าสูงจากวัสดุเศษเหลือของโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม |
53 |
ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกรดอะมิโนลีวูลินิกของแบคทีเรียสังเคราะห์แสงทนเค็มสายพันธุ์กลาย และการประยุกต์ใช้ในการเลี้ยงปลานิลแดง |
54 |
มันกุ้งเสวยจากโปรตีนไฮโดรไลเสตจากเครื่องในปลาทูน่า |
55 |
การบำบัดน้ำทิ้งโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มด้วยวิธีการทางชีวภาพ ทางเคมี และทางจุลินทรีย์ |
56 |
การปรับปรุงสายพันธุ์และปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขนาดการผลิตแบคทีเรียสังเคราะห์แสงทนเค็มเพื่อประยุกต์ใช้ในอาหารเลี้ยงปลากดเหลือง |
ปี พ.ศ. 2545 |
57 |
พารามิเตอร์ที่มีผลต่อการทำแห้งและคุณภาพของโปรตีนไฮโดรไลเสตและเศษเหลือของเครื่องในปลาทูน่า |
58 |
การปรับปรุงสายพันธุ์และปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขนาดการผลิตแบคทีเรียสังเคราะห์แสงทนเค็มเพื่อประยุกต์ใช้ในอาหารเลี้ยงปลากดเหลือง |
59 |
การคัดเลือกและจำแนกชนิดของแบคทีเรียสังเคราะห์แสงที่ผลิตกรดอะมิโนลวูลินิก |
ปี พ.ศ. 2544 |
60 |
การปรับปรุงสายพันธุ์แบคทีเรียสังเคระห์แสงทนเค็มและการประยุกต์ใช้ในสัตว์น้ำ |
61 |
การใช้ยีสต์และพืชน้ำในการบำบัดน้ำทิ้งโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม |
ปี พ.ศ. 2543 |
62 |
การทำปุ๋ยหมักจากวัสดุเศษเหลือของโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม |
63 |
การผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลาปาล์มและการประยุกต์ใช้ |
64 |
การทำปุ๋ยน้ำและปุ๋ยอัดเม็ดจากวัสดุเศษเหลือของโรงงานอาหารทะเล |
65 |
การผลิตน้ำปลาจากน้ำนึ่งปลาทูน่า |
66 |
การพัฒนากระบวนการเก็บเกี่ยวน้ำมันจากน้ำทิ้งของโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม |
67 |
การคัดเลือกและจำแนกชนิดของแบคทีเรียสังเคราะห์แสงที่ผลิตกรด 5-อะมิโนลีวูลินิก |
ปี พ.ศ. 2541 |
68 |
การสกัดแยกเอนไซม์จากเครื่องในปลาทูน่า |
ปี พ.ศ. 2535 |
69 |
การเตรียมเชื้อเริ่มต้นเพื่อใช้ในการอุตสาหกรรมการหมักโกโก้ 1. การเปลี่ยนแปลงของจุลินทรีย์ระหว่างการหมักเมล็ดโกโก้ 2. บทบาทของจุลินทรีย์ที่เติมต่อคุณภาพของเมล็ดโกโก้ |
70 |
การประยุกต์ใช้เชื้อบริสุทธิ์ในอาหารหมักดั้งเดิม (น้ำบูดู) 1. การเปลี่ยนแปลงของจุลินทรีย์ในระหว่างการหมักบูดู |
ปี พ.ศ. ไม่ระบุ |
71 |
การลดคาร์บอนไดออกไซด์ในแก๊ซชีวภาพด้วยแบคทีเรียสังเคราะห์แสง |
72 |
ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกรด 5-อะมิโนลีวูลินิก จากแบคทีเรียสังเคราะห์แสง |
73 |
การใช้วัสดุเศษเหลือของอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มเพื่อผลิตสารอาหารร่วมและหัวเชื้อเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพและผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่ม |