ปี พ.ศ. 2558 |
1 |
Situation analysis and study on the factors affecting the achievement of problem solving of maternal health care in the 3 southernmost provinces of Thailand |
2 |
Formative Evaluation Program of Area Health Research Fellowship |
3 |
การพัฒนารูปแบบในการประเมินผลลัพธ์การบำบัดเด็กสมาธิสั้น ณ สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ |
4 |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอาการผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างในกลุ่มพนักงานเจียระไนเพชร กรุงเทพมหานคร |
5 |
ความรู้ ความตระหนัก และการปฏิบัติตนเองเพื่อลดการได้รับรังสีของผู้ปฏิบัติงานถ่ายภาพเอกซเรย์ ในโรงพยาบาลชุมชนขนาดกลางและเล็ก |
6 |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการสูบบุหรี่ของเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย |
7 |
การพัฒนากระบวนการเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนด้านการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ |
ปี พ.ศ. 2557 |
8 |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคผิวหนังอักเสบบริเวณมือของคนงานโรงงานเครื่องปั้นดินเผาและเซรามิกในจังหวัดราชบุรี |
9 |
การประเมินฟองอากาศขนาดเล็กในเส้นเลือดด้วยการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงในเจ้าหน้าที่ห้องปรับบรรยากาศที่ให้การดูแลผู้ป่วยในห้องปรับแรงดันบรรยากาศสูง |
ปี พ.ศ. 2556 |
10 |
การรับรู้และความคาดหวังด้านการบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของบุคลากรสนับสนุนด้านคลินิก ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย |
11 |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอาการผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างในพนักงานกวาดถนน กรุงเทพมหานคร |
ปี พ.ศ. 2554 |
12 |
อหิวาตกโรค กับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง |
ปี พ.ศ. 2553 |
13 |
ข้อเสนอเชิงนโยบายสำหรับการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของประชาชนรอบเขตอุตสาหกรรม |
14 |
การทบทวนข้อมูลการประสบอันตรายและเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานจากข้อมูลกองทุนเงินทดแทนในประเทศไทย |
15 |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของอาการผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างในอาชีพหมอนวดแผนไทย |
16 |
การทบทวนข้อมูลการประสบอันตรายและเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน จากข้อมูลกองทุนเงินทดแทนในประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2552 |
17 |
1,3-บิวทาไดอีน |
18 |
ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยกับการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ |
19 |
ความสำคัญของการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงโรคสิลิโคสิส และโรคใยหิน |
20 |
อาชีวอนามัย-ความสำคัญของการตรวจสุขภาพ |
21 |
การประเมินทางเศรษฐศาสตร์การบริการพื้นฐานการให้คำปรึกษาและตรวจคัดกรองการติดเชื้อเอชไอวี แก่ผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชุมชนในประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2551 |
22 |
การสำรวจการสร้างเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
23 |
ลอจิสติคส์ - การส่งกำลังบำรุง |
24 |
คุณภาพการดูแลผู้ป่วยในของกองทุนเงินทดแทนใน 4 เขตพื้นที่ |
25 |
ความชุกของเยื่อจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ในบุคลากรและเชื้อราในอากาศ ในอาคารที่มีระบบจัดการอากาศ |
ปี พ.ศ. 2550 |
26 |
การสำรวจการสร้างเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
27 |
การสำรวจการสร้างเสริมสุขภาพในองค์กรภาครัฐส่วนกลาง |
28 |
ความสัมพันธ์ระหว่างประมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์รายวันในอากาศกับการมารับการรักษาด้วยอาการระบบหายใจเฉียบพลัน ณ รพ.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ลำปาง |
29 |
การสำรวจการสร้างเสริมสุขภาพในองค์กรภาครัฐส่วนภูมิภาคกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา |
30 |
ความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากสารเคมีอันตรายของพนักงานโรงงานผลิตมอเตอร์คอมเพรสเซอร์แห่งหนึ่งในประเทศไทย |
31 |
สัดส่วนการสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยในโรงพยาบาลและการใช้บริการทางการแพทย์ของบุคลาการในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ |
ปี พ.ศ. 2549 |
32 |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดหลังส่วนล่างในผู้ผลิตสินค้าประเภทไม้ในกลุ่มสหกรณ์วังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว |
33 |
ผลของการดูแลในห้องฉุกเฉิน ต่อการเสียชีวิตของผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจรภายใน 48 ชั่วโมง หลังเกิดอุบัติเหตุจราจร ในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข |
ปี พ.ศ. 2548 |
34 |
การพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ |
35 |
การบริหารจัดการข้อมูลความปลอดภัยสารเคมีของสถานประกอบการในประเทศไทย |
36 |
การประเมินระบบการรายงานโรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของโรงพยาบาล ในจังหวัดอ่างทอง |
ปี พ.ศ. 2547 |
37 |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดจากงานของบุคลากรในโรงพยาบาลปทุมธานี |
38 |
การดำเนินงานอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรโรงพยาบาล ตามเกณฑ์มาตรฐานการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ของโรงพยาบาลภาครัฐ ในประเทศไทย พ.ศ. 2547 |
39 |
การเปรียบเทียบการวินิจฉัยโรคขี้แมว โดยวิธี Sabin-Feldman Dye Test กับวิธี Indirect FluorescentAntibody Test ในกลุ่มผู้ป่วยเอดส์ ณ สถาบันบำราศนราดูร |
40 |
การประเมินคุณภาพตนเองตามมาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน จังหวัดนครราชสีมา |
41 |
การสำรวจปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพของแพทย์ไทย |
42 |
การสำรวจภาวะสุขภาพ |
43 |
การสำรวจปัจจัยเสี่ยงของแพทย์ที่เสียชีวิต |
44 |
ปัจจัยที่เกี่ยวกับการฆ่าตัวตายของแพทย์ไทย |
45 |
การศึกษาหาแนวทางการตรวจสุขภาพที่เหมาะสมแก่ลูกจ้างในสถานประกอบการ 5 ประเภท ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม |
46 |
การพัฒนาระบบเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ |
ปี พ.ศ. 2546 |
47 |
คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคเอดส์ที่รับยาต้านไวรัสเอดส์ ในเขต 11 |
48 |
อัตราชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อวัณโรคในบุคลากรของโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี |
ปี พ.ศ. 2545 |
49 |
วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันของการตรวจสอบและรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย |
50 |
คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรสาธารณสุขในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอประเทศไทย ปี 2545 |
51 |
ความคิดเห็นของนิสิต/นักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 6 ต่อนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า |
52 |
ความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติของหัวหน้าห้องปฏิบัติการชันสูตรทางคลินิกกลางในการจัดการของ เสียอันตรายของโรงพยาบาลขนาดกลาง และขนาดใหญ่ในประเทศไทย พ.ศ. 2543 |
53 |
ความคิดเห็นของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านต่องานสุขภาพจิตชุมชนใน 4 จังหวัด |
54 |
สาเหตุการตายและสิ่งคุกคามต่อสุขภาพของแพทย์ไทย พ.ศ. 2535 ถึง 2544 |
55 |
ความคิดเห็นของนายจ้างและเจ้าหน้าที่ด้านอาชีวอนามัย ต่อตัวชี้วัดการสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ |
56 |
การสำรวจภาวะสุขภาพแพทย์ไทยและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ |
57 |
ความคิดเห็นของนายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการต่อรายการตรวจสุขภาพ คนงานตามปัจจัยเสี่ยง ในโรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับปุ๋ยหรือสารปราบศัตรูพืช |
58 |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสียการได้ยินจากเสียง ในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพหัตถกรรมมีดอรัญญิก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
59 |
กระบวนการประชาสังคมเพื่อการปฏิรูปโรงพยาบาลของรัฐระดับอำเภอเพื่อร่วมเรียนรู้สู่โรงพยาบาลชุมชนเพื่อชุมชน |
60 |
สาเหตุการตายและสิ่งคุกคามต่อสุขภาพของแพทย์ไทย ปีพ.ศ.2535 ถึง 2544 |
ปี พ.ศ. 2544 |
61 |
ความคิดเห็นของบุคลากรสาธารณสุขโรงพยาบาลชุมชน ต่อการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ในเขตสาธารณสุข 3 |
62 |
ความชุกและปัจจัยของภาวะซึมเศร้าในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ในเขตจังหวัดเพชรบุรี |
63 |
โครงการ การตรวจสอบและรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการ : วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันของการตรวจสอบ และรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการ ด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
64 |
การบริการอาชีวอนามัยของโรงพยาบาลรัฐและเอกชนในพื้นที่สาธารณสุขเขต 3 |
65 |
การตรวจสอบและรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการ : วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันการตรวจสอบ และรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการด้านอาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2543 |
66 |
สถานการณ์การรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการด้านอาชีวอนามัย และสิ่งบแวดล้อมในประเทศไทย พ.ศ. 2543 |
67 |
ระบาดวิทยาของรายงานคดีอุบัติเหตุจราจรทางบกที่จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2542 |
68 |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอาการปวด/ปวดเมื่อยของระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อในคนงานโรงงานผลิตตลับเทปแห่งหนึ่ง |
ปี พ.ศ. 2542 |
69 |
การทบทวนรูปแบบการทำงานของคณะกรรมการการแพทย์ กองทุนเงินทดแทนของประเทศไทย และประเทศต่าง ๆ : รายงานผลการวิจัย |
70 |
ความชุกและพฤติกรรมในการป้องกันโรคหูตึงเหตุอาชีพ ของผู้ปฏิบัติงานฝ่ายผลิต และฝ่ายบำรุงรักษาในโรงไฟฟ้าพลังความร้อนและโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2541 |
71 |
โครงการประมวลองค์ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนาเพื่อนำไปสู่การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบบริการอาชีวอนามัยในสถานประกอบการโดยใช้โรงงานแก้วเป็นต้นแบบ |
ปี พ.ศ. 2540 |
72 |
การเจริญเติบโต พัฒนาการ ภาวะสุขภาพ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี ในภาคกลางของประเทศไทย |