ปี พ.ศ. 2560 |
1 |
Development of Aquaculture Technology for Food Security and Food Safety for the Next Generation in Thailand |
ปี พ.ศ. 2558 |
2 |
การใช้สารยูจีนอลสังเคราะห์เป้นยาสลบสัตว์น้ำ |
ปี พ.ศ. 2557 |
3 |
การศึกษาชนิดของเชื้อโรคที่เป็นสาเหตุของการตายของปลานิล (Oreochromis niloticus) ในระยะต่างๆ ในสภาวะปัจจุบัน |
4 |
Asian Core Program สาขาวิทยาศาสตร์การประมง โดยการสนับสนุนของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และ Japan Society for the Promotion of Science ภายใต้หัวข้อากรวิจัยเรื่อง การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการจัดการ ความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์สัตว์น้ |
ปี พ.ศ. 2556 |
5 |
การวิจัยเชิงสังเคราะห์เกี่ยวกับมาตรฐานการผลิตสินค้าปลานิลตลอดห่วงโซ่เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ความปลอดภัยอาหาร |
6 |
โครงการ Asian CORE Program สาขาวิทยาศาสตร์การประมง ภายใต้หัวข้อการวิจัย การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการจัดการความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำจากการเพาะเลี้ยง |
ปี พ.ศ. 2555 |
7 |
Characterisation of thermostable trypsin and determination of trypsin isozymes from intestine of Nile tilapia (Oreochromis niloticus L.) |
8 |
การพัฒนาวัคซีนในการป้องกันเชื้อ Flavobacterium columnare และการตอบสนองยีนที่เกี่ยวของกับภูมิคุ้มกันในปลานิล (Oreochromis niloticus) |
9 |
โครงการข้อมูลเพื่อจัดทำแนวทางการปฏิบัติตามมาตรฐาน GAP ฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล |
10 |
ประสิทธิภาพของสารยูจีนนอลสังเคราะห์ในการใช้เป็นยาสลบเพื่อการขนส่งปลา |
11 |
กิจกรรมของเอนไซม์ในระบบย่อยอาหาร ประสิทธิภาพการย่อยอาหารและผลของการเสริมเอนไซม์ต่อการใช้ประโยชน์ของอาหารในปลาสวาย |
ปี พ.ศ. 2554 |
12 |
การกระตุ้นภูมิคุ้มกันเพื่อการป้องกันโรคในสัตว์น้ำ |
13 |
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการจัดการความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำจากการเพาะเลี้ยง |
14 |
การแยกและศึกษาหน้าที่ของเลคตินในปลานิลที่พบหลังจากกระตุ้นด้วยแบคทีเรีย Streptococcus agalactiae |
15 |
การใช้สารยูจีนอลเป็นยาสลบสำหรับสัตว์น้ำ |
ปี พ.ศ. 2553 |
16 |
สถานภาพการผลิตสัตว์น้ำพื้นเมืองของจังหวัดชัยนาท |
17 |
ผลของแมนแนนโอลิโกแซคคาไรด์ต่อการเจริญเติบโต ระบบคุ้มกัน และความต้านทานโรคของปลานิล (Oreochromis niloticus, Linn.) |
18 |
บทบาทของสารสกัดขมิ้นชัน (Curcuma longa Linn.) และฟ้าทะลายโจร (Andrographis paniculata Wall. Ex Nees) ต่อภูมิคุ้มกันของสัตว์น้ำและฤทธิ์ในการควบคุมเชื้อแบคทีเรียก่อโรค |
ปี พ.ศ. 2552 |
19 |
การใช้สารยูจีนอลเป็นยาสลบสำหรับสัตว์น้ำ |
20 |
การคัดเลือกและผลิตจุลินทรีย์น้ำเค็ม Schizochytrium sp. เพื่อใช้เป็นแหล่ง DHA สำหรับเพาะเลี้ยงกุ้ง |
21 |
การศึกษาภูมิคุ้มกันของกุ้งก้ามกรามและยีนที่ควบคุม |
22 |
การใช้ Bacillus spp. เป็นโปรไบโอติกในการยับยั้งเชื้อ Vibrio harveyi และการกระตุ้นภูมิคุ้มกันในกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei, Boone |
23 |
การใช้ Schizochytrium limacinum ในการอนุบาลลูกกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei,Boone) และผลที่มีต่อระบบภูมิคุ้มกันและความทนทานต่อความเครียด |
24 |
บทบาทของวิตามินซีและวิตามินอีต่อการสืบพันธุ์ของปลานิล (Oreochromis niloticus Linnaeus) |
ปี พ.ศ. 2551 |
25 |
การใช้สารยูจีนอลเป็นยาสลบสำหรับสัตว์น้ำ |
26 |
มาตรฐานการใช้จุลินทรีย์โปรไบโอติกในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ |
27 |
การใช้ Bacillus spp. เพื่อยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคในกุ้งกุลาดำ |
28 |
ความหลากชนิดและการแพร่กระจายของปรสิตและจุลินทรีย์จากปลาทะเลในจังหวัดชลบุรี |
ปี พ.ศ. 2550 |
29 |
การพัฒนาการผลิตสารสกัดบีต้า-กลูแคนจากยีสต์เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันของกุ้ง (ภายใต้แผนงานวิจัยแบบบูรณาการด้านยาและเคมีภัณฑ์) |
30 |
การใช้สารสกัดเบต้ากลูแคนจากยีสต์ในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันของกุ้งขาวแวนนาไม |
31 |
การสร้างห้องสมุดและการสืบค้นยีนที่เกี่ยวข้องกับระบบการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันในเซลล์เม็ดเลือดของกุ้งก้ามกราม [Macrobrachium rosenbergil] ที่ได้รับสารเบตา-กลูแคนในอาหาร |
32 |
ผลของ Chlorella sp.ต่อแบคทีเรีย Vibrio harveyi และระบบภูมิคุ้มกันของกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon fabricius) |
ปี พ.ศ. 2549 |
33 |
การพัฒนาการผลิตสารสกัดบีต้า-กลูแคนจากยีสต์เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันของกุ้ง (ทุนทำการวิจัยภายใต้แผนงานวิจัยแบบบูรณาการทางด้านยาเคมีภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์) |
ปี พ.ศ. 2548 |
34 |
ปรสิตในลูกปลาบึกและปลาบึก |
35 |
ประสิทธิภาพของสารสกัดใบหูกวางเพื่อควบคุมเชื้อแบคทีเรียในปลากัด |
36 |
โครงการย่อย การใช้จุลินทรีย์โปรไปโอติกที่ผ่านการฉายรังสีกับการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ |
37 |
ประสิทธิภาพของสารสกัดใบหูกวาง เพื่อควบคุมแบคทีเรียในปลากัด |
ปี พ.ศ. 2547 |
38 |
ผลของบัวบก (Centella asiatica) ต่อระบบภูมิคุ้มกันของกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei) |
39 |
มาตรฐานการใช้จุลินทรีย์โปรไบโอติกในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ |
ปี พ.ศ. 2546 |
40 |
การใช้หอยกาบน้ำจืดและสาหร่ายหางกระรอกเพื่อลดปริมาณความขุ่นของน้ำจากบ่อเลี้ยงปลา |
ปี พ.ศ. 2543 |
41 |
การประเมินประสิทธิภาพของการใช้สารเคมีและจุลินทรีย์ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพน้ำในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ |
42 |
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณอาหารและคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำ |
ปี พ.ศ. 2540 |
43 |
การใช้วิตามินซีโดยการละลายน้ำเพื่อป้องกันความเครียดในการอนุบาลลูกกุ้งกุลาดำ |