ปี พ.ศ. 2554 |
1 |
การออกแบบอย่างเหมาะสมที่สุด สำหรับโครงสร้างเหล็กขึ้นรูปเย็นโดยวิธีความกว้างประสิทธิผลและวิธีฮิวริสติก |
ปี พ.ศ. 2553 |
2 |
พฤติกรรมการหลุดล่อนของแผ่นพลาสติกเสริมเส้นใยคาร์บอนในคานเหล็กที่เสริมกำลังภายใต้แรงกระทำเป็นรอบแอมพลิจูดคงที่ |
3 |
การออกแบบอย่างเหมาะสมที่สุดสำหรับโครงสร้างเหล็กในระนาบโดยวิธีฮิวริสติก |
4 |
การออกแบบอย่างเหมาะสมที่สุดสำหรับโครงสร้างเหล็กในระนาบโดยวิธีฮิวริสติก |
ปี พ.ศ. 2550 |
5 |
โปรแกรมไฟไนต์เอลิเมนต์ที่ปรับขนาดชื้นส่วนอัตโนมัติโดยใช้ชิ้นส่วนสามเหลี่ยมอย่างง่ายพร้อมการหมุนที่จุดยอด |
6 |
อัลกอริทึมการเลือกขนาดวัสดุที่เหมาะสมด้วยเทคนิคการจำลองการอบเหนียว |
ปี พ.ศ. 2548 |
7 |
การคำนวณออกแบบอย่างเหมาะสมที่สุดสำหรับโครงถักเหล็กในระนาบโดยใช้วิธีอัลกอริทึมเชิงพันธุกรรม |
ปี พ.ศ. 2547 |
8 |
โปรแกรมไฟไนต์เอลิเมนต์ที่ปรับขนาดชิ้นส่วนอัตโนมัติ โดยใช้ชิ้นส่วนสามเลี่ยมชนิดความเครียดเชิงเส้น |
ปี พ.ศ. 2545 |
9 |
การคำนวณออกแบบอย่างเหมาะสมที่สุดสำหรับพื้นคอนกรีตไร้คานอัดแรงภายหลังชนิดมีแป้นรองรับหัวเสา ด้วยวิธีซิมเพล็กซ์ |
10 |
การสร้างและปรับขนาดชิ้นส่วนโดยอัตโนมัติด้วยวิธีแลกเปลี่ยนร่วมกับวิธีฟรอนต์เดินหน้า |
ปี พ.ศ. 2544 |
11 |
การคำนวณออกแบบอย่างเหมาะสมที่สุดสำหรับคานคอนกรีตอัดแรงบางส่วนด้วยวิธีซิมเพล็กซ์ |
12 |
โปรแกรมไฟไนต์เอเลเมนต์ที่ปรับขนาดชิ้นส่วนอัตโนมัติ โดยใช้วิธีการปรับเรียบเชิงมุม |
ปี พ.ศ. 2542 |
13 |
โปรแกรมไฟไนต์เอเลเมนต์ที่ปรับขนาดชิ้นส่วนอัตโนมัติ |
14 |
การคำนวณออกแบบอย่างเหมาะสมที่สุดสำหรับพื้นคอนกรีตไร้คานอัดแรงภายหลังด้วยวิธีซิมเพล็กซ์ |
ปี พ.ศ. 2539 |
15 |
การศึกษากำลังรับแรงเฉือนของแผ่นพื้นไร้คาน ที่มีช่องเปิดเสริมด้วยหมุดรับแรงเฉือน |
16 |
การคำนวณออกแบบโครงถักเหล็กระนาบอย่างเหมาะสมโดยใช้วิธีงานสมมุติ |
17 |
การคำนวณออกแบบอย่างเหมาะสมสำหรับพื้นคอนกรีตไร้คานอัดแรงภายหลัง |
18 |
การวิเคราะห์โครงเหล็กข้อแข็งด้วยวิธี อิลาสติก-พลาสติก โดยพิจารณาผลของ P- และความยาวของชิ้นส่วน |
19 |
การออกแบบที่เหมาะที่สุดสำหรับโครงข้อแข็งเหล็กระนาบ โดยใช้วิธีงานเสมือน |
20 |
พฤติกรรมการดัดของแผ่นพื้นท้องเรียบหล่อสำเร็จเททับหน้า ด้วยคอนกรีตไฟเบอร์โพลีโพรพีลีน |
21 |
การวิเคราะห์โครงเหล็กข้อแข็งด้วยวิธีอีลาสติก-พลาสติก โดยพิจารณาผลของ P- และการเปลี่ยนแปลงรูปร่างด้วยการเฉือนของชิ้นส่วนข้อต่อ |
22 |
กำลังของสลักแรงเฉือนคอนกรีตล้วนเมื่อมีแรงโอบรัด |
23 |
การวิเคราะห์อิลาสติกอันดับที่สองของโครงข้อแข็งคอนกรีตเสริมเหล็กโดยคำนึงถึงผลของการแตกร้าว |
24 |
การคำนวณออกแบบอย่างเหมาะสมสำหรับโครงถักระนาบ ที่มีพฤติกรรมไม่เชิงเส้นโดยใช้วิธีงานสมมุติ |
ปี พ.ศ. 2538 |
25 |
การวิเคราะห์โครงสร้างเหล็กข้อต่อกึ่งแข็งเชิงอิลาสติก-พลาสติก อันดับที่สอง |
ปี พ.ศ. 2536 |
26 |
การศึกษาระบบการควบคุมคุณภาพสำหรับอุตสาหกรรมคอนกรีตผสมเสร็จแบบ หลายโรงผสม |
ปี พ.ศ. 2535 |
27 |
การวิเคราะห์โครงข้อแข็งด้วยวิธี อิลาสติก-พลาสติก โดยคำนึงถึงผล จาก P-delta |
28 |
การวิเคราะห์ด้วยวิธีพลาสติกโดยอัตโนมัติสำหรับหากลไกวิบัติแบบอิสระ และแบบรวมของโครงสร้างข้อแข็ง / |
ปี พ.ศ. 2534 |
29 |
ผลตอบสนองของอาคารต่อแผ่นดินไหวในเขตกรุงเทพมหานคร |
30 |
การวิเคราะห์โครงเหล็กข้อแข็งด้วยวิธี อิลาสติก-พลาสติกสำหรับน้ำหนักบรรทุกแบบเป็นจุด และ แบบแผ่กระจายสม่ำเสมอ |
ปี พ.ศ. 2533 |
31 |
การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีอิลาสติก-พลาสติก สำหรับโครงเหล็กข้อแข็ง |
32 |
การวิเคราะห์โดยประมาณสำหรับอาคารสูง ภายใต้แรงกระทำด้านข้าง |
33 |
การวิเคราะห์โครงสร้างโดยประมาณของโครงระนาบ ที่ประกอบด้วยโครงข้อแข็ง และผนังต้านแรงเฉือนเมื่อรับแรงกระทำด้านข้าง |
ปี พ.ศ. 2532 |
34 |
การวิเคราะห์อย่างง่ายสำหรับอาคารสูงภายใต้แรงกระทำด้านข้าง |
35 |
การคำนวณออกแบบอย่างเหมาะที่สุดสำหรับโครงถักระนาบ |
36 |
การคำนวณออกแบบอย่างเหมาะที่สุดโดยวิธีพลาสติก สำหรับโครงเหล็กข้อแข็ง |
37 |
การวิเคราะห์อย่างง่ายเพื่อหาค่าการกระจายแรงกระทำด้านข้าง สำหรับโครงข้อแข็งรูปกล่องสี่เหลี่ยมผืนผ้า |
38 |
การคำนวณออกแบบอย่างเหมาะที่สุดโดยวิธีพลาสติก สำหรับโครงเหล็กหลายชั้น ชนิดไร้ยึดโยงทะแยง |
ปี พ.ศ. 2529 |
39 |
ผลของช่องเปิดในผนังต้านแรงเฉือนภายใต้แรงกระทำด้านข้าง |
40 |
การกระจายของแรงด้านข้างโดยประมาณในโครงอาคารที่แปรขนาดตามความสูง |
ปี พ.ศ. 2527 |
41 |
พฤติกรรมของแผ่นหลังคาอาร์ชบาง รูปทรงกระบอกทำด้วยคอนกรีตเสริมใยแก้ว |
ปี พ.ศ. 2526 |
42 |
การวิเคราะห์หาค่าโมเมนต์ในพื้นระบบ Flat plate ด้วยโปรแกรมไมโครคอมพิวเตอร์ : รายงานการวิจัย |
43 |
การทดลองและการวิเคราะห์สะพานแบบบ๊อกซเกอร์เดอร์ปลายเฉียง |
44 |
การกระจายของอุณหภูมิบนหน้าตัดคอนกรีตรูปกล่องที่อยู่กลางแจัง |
ปี พ.ศ. 2525 |
45 |
ประสิทธิภาพทางด้านโครงสร้างของอาคารในเขตการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
46 |
การวิเคราะห์โดยประมาณสำหรับโครงข้อหมุนสามมิติ |
ปี พ.ศ. 2523 |
47 |
การวิเคราะห์โครงสร้างเปลือกบางโดยวิธีไฟไนท์เอลเม้นท์ |
48 |
พฤติกรรมของระบบแผ่นพื้น-ตง คอนกรีตเสริมด้วยไม้ไผ่ที่อาบด้วยฟลินท์โคท |