ปี พ.ศ. 2559 |
1 |
อิทธิพลของวิธีวัดแบบมาตราส่วนประมาณค่าและบังคับเลือกที่มีต่อความเที่ยงและความตรงเชิงโครงสร้างในการวัดบุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบ |
ปี พ.ศ. 2558 |
2 |
การพัฒนาแบบประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานในสถานศึกษาของนิสิตนักศึกษาครู |
3 |
อิทธิพลของรูปแบบข้อสอบที่มีต่อความตรงเชิงโครงสร้างของโมเดลการวัดสมรรถนะทางคณิตศาสตร์ตามแนวทางพิซ่า: การประยุกต์ใช้การตรวจสอบอิทธิพลของวิธีการวัดด้วยเทคนิคซีทีซียูและเทคนิคซีทีซีเอ็ม |
4 |
การพัฒนามาตรวัดจิตวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น:การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์กลุ่มแฝงเพื่อกำหนดคะแนนจุดตัด |
5 |
อิทธิพลของความสัมพันธ์ระหว่างมิติและวิธีประมาณค่าความเที่ยงที่มีต่อค่าความเที่ยงแบบพหุมิติ ความแม่นยำ และความถูกต้องของการประมาณค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยง |
6 |
การวิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพของการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อสอบในแบบสอบที่มีการตรวจให้คะแนนแบบทวิวิภาค ระหว่างวิธีการถดถอยโลจิสติก วิธีซิปเทสท์และวิธีราสช์ทรี |
ปี พ.ศ. 2557 |
7 |
การพัฒนาแบบวัดสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ในห้องเรียนระดับประถมศึกษา |
8 |
การเปรียบเทียบอิทธิพลของวิธีการวัดที่มีต่อผลการวัดสุขภาพจิตที่มาจากการตอบตามความพึงปรารถนาของสังคม : การประยุกต์ใช้เทคนิคซีอียูแอลและเทคนิคซีอีเอ็มแอล |
9 |
การสร้างเสริมการรู้จักตนเองเพื่อการพัฒนาตนเองของนักเรียนโดยใช้กระบวนการสืบสอบและการประเมินแบบชื่นชม |
10 |
การวิเคราะห์เปรียบเทียบโมเดลประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์: การประยุกต์ใช้โมเดลมูลค่าเพิ่มพหุระดับที่มีการวิเคราะห์การทำหน้าที่ต่างกันของข้อสอบและแบบสอบ |
11 |
ประสิทธิภาพของวิธีการคัดเลือกข้อสอบสองวิธีในการทดสอบแบบปรับเหมาะด้วยคอมพิวเตอร์สำหรับโมเดลการตอบสนองข้อสอบที่ใช้แบบทดสอบย่อย: การเปรียบเทียบระหว่างวิธีมอนติ คาร์โล ซีเอที และวิธีแบ่งกลุ่มค่าอำนาจจำแนกแบบถ่วงน้ำหนักที่มีการบังคับ |
ปี พ.ศ. 2556 |
12 |
การนำเสนอแนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนจากการวิเคราะห์แนวปฏิบัติดี |
13 |
การเปรียบเทียบสถิติบูทสแตรปของการออกแบบการปรับเทียบสำหรับแบบสอบรูปแบบผสมระหว่างวิธีการที่ต่างกัน |
ปี พ.ศ. 2555 |
14 |
การวิเคราะห์ความตรงเชิงจำแนกของแบบประเมินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูสำหรับนิสิต/นักศึกษาวิชาชีพครู : การศึกษาพหุลักษณะและแหล่งข้อมูลพหุ |
15 |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาวะทางจิตของครูโดยมีความขัดเเย้งระหว่างงานกับครอบครัวเป็นตัวเเปรส่งผ่าน |
16 |
การวิเคราะห์ความตรงเชิงจำแนกของแบบประเมินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูสำหรับนิสิต/นักศึกษาวิชาชีพครู : การศึกษาพหุลักษณะและแหล่งข้อมูลพหุ |
ปี พ.ศ. 2554 |
17 |
การเปรียบเทียบค่าความเหลื่อมของความแปรปรวนในดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทย ที่เป็นผลจากความแตกต่างของความยาวของแบบวัด ขนาดกลุ่มตัวอย่างสำหรับการทดลองเครื่องมือ และระยะเวลาในการวัดซ้ำ |
18 |
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามระหว่างดัชนีพาสเกลจีสแควร์และดัชนีเอสไคสแควร์ทั่วไป |
19 |
การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของแรงจูงใจในการสอบและคะแนนสอบของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 |
20 |
การพัฒนาแบบวัดคุณลักษณะผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย |
21 |
การพัฒนาวิธีการกำหนดคะแนนจุดตัดสำหรับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานวิชาคณิตศาสตร์ และวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 |
22 |
การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของพฤติกรรมรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมของนักเรียนมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร |
23 |
การเปรียบเทียบค่าความเหลื่อมของความแปรปรวนในดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทย ที่เป็นผลจากความแตกต่างของความยาวของแบบวัด ขนาดกลุ่มตัวอย่างสำหรับการทดลองเครื่องมือ และระยะเวลาในการวัดซ้ำ |
24 |
การพัฒนาแบบวัดคุณลักษณะความเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย |
ปี พ.ศ. 2553 |
25 |
การวิเคราะห์อภิมานคุณภาพของแบบวัดความถนัด |
26 |
การพัฒนาการรักความเป็นไทยของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6: การทดลองแบบสี่กลุ่มของโซโลมอน |
27 |
การพัฒนาแบบวัดภูมิต้านทานทางอารมณ์และจิตใจเชิงสถานการณ์ สำหรับนักศึกษาปริญญาบัณฑิต โดยใช้เทคนิคแผนผังกลุ่มเชื่อมโยง การสัมภาษณ์แบบ MMI และการวิเคราะห์พหุลักษณะ-พหุวิธี 2 ระดับ |
28 |
การพัฒนาแบบวัดจิตวิญญาณความเป็นครู |
29 |
การประยุกต์ใช้วิธีการประเมินการปฏิบัติงานสำหรับประเมินสมรรถนะของผู้ประเมินภายนอกระดับการศึกาาขั้นพื้นฐานเพื่อต่ออายุการรับรอง |
30 |
การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดภูมิต้านทานทางอารมณ์และจิตใจ สำหรับนักศึกษาปริญญาบัณฑิต |
31 |
การพัฒนาหลักเทียบสำหรับการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน |
32 |
การพัฒนาระบบการประเมินการปฏิบัติงานวิจัยโดยประยุกต์แนวคิดแผนที่ผลลัพธ์ : กรณีศึกษาคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม |
33 |
โมเดลการพัฒนาการปฏิบัติงานครู : การประยุกต์ใช้แนวคิดการประเมินครูที่เน้นการปฏิบัติงานเป็นฐานและการประเมินแบบเสริมพลังอำนาจ |
34 |
การวิเคราะห์อภิมานคุณภาพของแบบวัดความถนัด |
ปี พ.ศ. 2552 |
35 |
การพัฒนาและประยุกต์ใช้มาตรฐานการประเมินอภิมาน สำหรับประเมินรายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย |
36 |
การพัฒนาตัวบ่งชี้ความอยู่ดีมีสุขของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น : การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างกลุ่มพหุ |
37 |
การพัฒนาและประยุกต์ใช้มาตรฐานการประเมินอภิมาน สำหรับประเมินรายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย |
38 |
การพัฒนาตัวบ่งชี้ความอยู่ดีมีสุขของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น : การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างกลุ่มพหุ |
ปี พ.ศ. 2551 |
39 |
ความคิดเห็นของนิสิตหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อการพัฒนาความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครู : รายงานการวิจัย |
40 |
การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุและผลของการรับรู้ความสามารถของตนเองของครูมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร |
41 |
การพัฒนาเชิงโมเดลสาเหตุของการทุจริตในการสอบของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย กรุงเทพมหานคร |
42 |
การประยุกต์ใช้วิธีการประเมินการปฏิบัติงานสำหรับประเมินสมรรถนะของผู้ประเมินภายนอก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อต่ออายุการรับรอง |
43 |
ความคิดเห็นของนิสิตหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยต่อการพัฒนาความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพครู |
44 |
การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของการทุจริตในการสอบ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย กรุงเทพมหานคร |
45 |
การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุและผลของการรับรู้ความสามารถของตนเอง ของครูมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร |
ปี พ.ศ. 2550 |
46 |
การสังเคราะห์งานวิจัยทางดนตรีศึกษา : การวิเคราะห์อภิมานและการวิเคราะห์เนื้อหา |
47 |
การเปรียบเทียบคุณภาพของวิธีการเชื่อมโยงคะแนนตามทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบแบบพหุมิติภายใต้การหมุนแกน โครงสร้างเชิงมิติและระดับความสัมพันธ์ที่แตกต่างกัน |
48 |
การวิเคราะห์ความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลเชิงสาเหตุของทักษะการปฏิบัติงานทางการพยาบาลของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 4 ในวิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก |
49 |
การพัฒนาคู่มือคุณภาพโดยใช้แนวคิดเครื่องมือควบคุมคุณภาพใหม่เจ็ดแบบ : กรณีศึกษาสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
50 |
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อสอบที่ตรวจให้คะแนนแบบพหุวิภาคระหว่างวิธีโครงสร้างความแปรปรวนร่วมและค่าเฉลี่ย กับวิธีการวิเคราะห์ฟังก์ชันเชิงจำแนกแบบโลจิสติก |
51 |
การวิเคราะห์อภิมานงานวิจัยด้านทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียน |
52 |
การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของคุณภาพการดำเนินงานของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ : การวิเคราะห์กลุ่มพหุ |
ปี พ.ศ. 2549 |
53 |
การพัฒนาตัวบ่งชี้ของคุณภาพการวัดและประเมินผลของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน |
54 |
การเปรียบเทียบความตรงตามสภาพในการประมาณค่าความสามารถของผู้สอบจากการทดสอบแบบปรับเหมาะโดยใช้คอมพิวเตอร์ ที่ใช้เกณฑ์การคัดเลือกข้อสอบขั้นแรก อัตราการใช้ข้อสอบซ้ำ และเกณฑ์ยุติการทดสอบที่ต่างกัน |
55 |
การวิเคราะห์กระบวนการประเมินผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ : การวิจัยพหุกรณีศึกษาของครูต้นแบบและการวิจัยเชิงปริมาณ |
56 |
การพัฒนาแบบวัดความสามารถการคิด สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 |
57 |
การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาที่ไม่ได้มาตรฐานจากการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน |
ปี พ.ศ. 2548 |
58 |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการประเมินภายใน รูปแบบการใช้ผลการประเมินภายใน และผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน |
59 |
ผลของการจัดกลุ่มที่มีขนาดและความสามารถของสมาชิกต่างกันที่มีต่อคุณภาพของงานกลุ่มของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น |
ปี พ.ศ. 2547 |
60 |
การศึกษาพัฒนาการความสามารถทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนโดยใช้วิธีการปรับเทียบแนวตั้ง ตามวิธีทฤษฎีตอบสนองข้อสอบร่วมกับวิธีการปรับเทียบเชิงเส้นตรง |
61 |
การพัฒนาคลังข้อสอบวิชา 2702303 : การวัดและการประเมินผลทางการศึกษาด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ : รายงานการวิจัย |
62 |
การพัฒนาคลังข้อสอบวิชา 2702303 การวัดและการประเมินผลทางการศึกษาด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร |
ปี พ.ศ. 2545 |
63 |
ผลกระทบของการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบใหม่ที่มีต่อผู้เกี่ยวข้อง : รายงานผลการวิจัย |
ปี พ.ศ. 2544 |
64 |
การพัฒนามาตรสำนึกสากลตามบริบทของสังคมวัฒนธรรมไทย |
ปี พ.ศ. 2539 |
65 |
การเปรียบเทียบความสอดคล้องของโมเดลการวัดทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ระหว่างมาตรแบบสอบเลือกตอบ และมาตรวัดตามการรับรู้ |
66 |
การเปรียบเทียบความสอดคล้องของโมเดลการวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ระหว่างมาตรแบบสอบเลือกตอบและมาตรวัดตามการรับรู้ |
67 |
การเปรียบเทียบความสอดคล้องของโมเดลการวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ระหว่างมาตรแบบสอบเลือกตอบและมาตรวัดตามการรับรู้ |