ปี พ.ศ. 2556 |
1 |
การพัฒนาวัสดุยางธรรมชาติยับยั้งเชื้อแบคทีเรียสำหรับการประยุกต์ใช้งานในผลิตภัณฑ์ด้านอนามัย |
2 |
วัสดุลูกผสมและการพัฒนากระบวนการผลิตสำหรับวัสดุเชิงประกอบพลาสติกและยาง |
ปี พ.ศ. 2555 |
3 |
การจัดอันดับงานวิจัยระดับมหาวิทยาลัยในภูมิภาคเอเชีย |
ปี พ.ศ. 2554 |
4 |
การผลิตและขึ้นรูปพอลิเมอร์ |
5 |
การพัฒนาเทคโนโลยีการคอมปาวด์และขึ้นรูปผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพจากอะลิฟาติก พอลิเอสเทอร์และพอลิเมอร์ผสมที่เกี่ยวข้อง |
6 |
ความไม่สม่ำเสมอของผิวและโครงสร้างทางจุลภาค ของพอลิเมอร์ผสมเส้นใยธรรมชาติ โดยใช้หัวขึ้นรูปแบบหมุน |
7 |
การลดการเกิดรอยฟันฉลามในวัสดุเชิงประกอบพอลิพรอพิลีนและขี้เลื่อยไม้โดยใช้เทคนิคหัวขึ้นรูปแบบหมุนเคลื่อนที่ได้ |
8 |
ผลของโครงสร้างตาข่ายของยางธรรมชาติที่มีต่อการยับยังเชื้อแบคที่เรีย |
9 |
อิทธิพลของสารตัวเติมลูกผสมกลุ่มซิลิกา (เถ้าชานอ้อย/เถ้าลอย/พรีซิพิเตตซิลิกา)ที่มีต่อสมบัติการสุกตัวและเชิงกลของวัสดุเชิงประกอบยางธรรมชาติ / |
10 |
ผลกระทบของสารกระตุ้นประเภทเปอร์ออกไซด์และสภาวะการบ่มเร่งด้วยความร้อนที่มีต่อสมบัติและพฤติกรรมการเย็นตัวของพอลิเอทิลีน |
11 |
สมบัติความร้อนเชิงกลพลวัต พฤติกรรมการค้นกลับตัวต้านอิลาสติกและความคงทนของยางเอ็นดีอาร์ที่มีสารเสริมแรงกลุ่มซิลิกาสำหรับงานในระบบไฮดรอลิก |
ปี พ.ศ. 2553 |
12 |
การจำลองทางคอมพิวเตอร์ และผลของความร้อนและแสงยูวีของผลิตภัณฑ์จากวัสดุผสมระหว่างพลาสติกกับผงขี้เลื่อยไม้ |
13 |
การศึกษาคุณสมบัติที่ขึ้นกับเวลาและพฤติกรรมแบบไร้เชิงเส้นของคานหน้าตัดกลวงที่ทำจากวัสดุผสมระหว่างพลาสติกและขี้เลื่อยไม้ [PWC] |
14 |
การศึกษาสมบัติเชิงกลและการสึกหรอของยางธรรมชาติ ที่เสริมแรงด้วยเถ้าลอยร่วมกับซิลิกา |
15 |
อิทธิพลของความหนาผิวเคลือบพอลิยูริเทนและปริมาณผงไททาเนียมไดออกไซด์ในผิวเคลือบ ที่มีต่อสมบัติการถ่ายเทความร้อนของผลิตภัณฑ์หลังคายางจากวัสดุผสมยางธรรมชาติและขี้เลื่อยไม้ |
16 |
การศึกษาอิทธิพลของพอลิเมอร์เมตริกซ์ชนิดต่างๆที่มีไตรโคลซานผสมอยู่ต่อการยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียด้วยวิธีทดสอบการแพร่บนวุ้นเลี้ยงเชื้อ |
ปี พ.ศ. 2552 |
17 |
การประเมินคุณภาพการตีพิมพ์ผลงานวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาไทย ที่ปรากฏในฐานข้อมูล Science Citation Index (SCI): กรณีศึกษาสาขาวิชาพลังงาน สิ่งแวดล้อม และวัสดุ |
18 |
การศึกษาอิทธิพลของพอลิเมอร์เมตริกซ์ชนิดต่างๆ ที่มีไตรโคลซานผสมอยู่ต่อการยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียด้วยวิธีทดสอบการแพร่บนวุ้นเลี้ยงเชื้อ |
19 |
อิทธิพลของแสงยูวีที่มีต่อสมบัติของผลิตภัณฑ์จากวัสดุเชิงประกอบ ระหว่างพีวีซีและผงขี้เลื่อยไม้ |
20 |
การปรับปรุงสมบัติทางวิศวกรรมของวัสดุเชิงประกอบของพีวีซี และผงขี้เลื่อยไม้โดยใช้เส้นใยแก้วเสริมแรง |
21 |
การพัฒนาวัสดุผสมระหว่างยางธรรมชาติ กับยางคลอโรพรีน โดยมีเถ้าลอยเป็นสารตัวเติม |
22 |
การปรับปรุงสมบัติทางกลของอะลูมิเนียมผสม โดยกระบวนการรีดที่อุณหภูมิเย็นยวดยิ่ง |
23 |
สมบัติทางวิศวกรรม การจำลองทางคอมพิวเตอร์และผลของความร้อนและแสงยูวี ของผลิตภัณฑ์จากวัสดุ ผสมระหว่างพลาสติกกับผงขี้เลื่อยไม้ |
24 |
การปรับลดแรงอัดรีดและความดันตกคร่อม บริเวณทางเข้าหัวขึ้นรูปของวัสดุเชิงประกอบพอลิพรอพิลีนหลอมเหลวกับขี้เลื่อยไม้ และวัสดุเชิงประกอบพอลิเอทิลีนหลอมเหลวกับขี้เลื่อยไม้ ในกระบวนการอัดรีดด้วยหัวขึ้นรูปแบบหมุน |
25 |
สมบัติทางกลและการทนน้ำมันของยางผสมผงเขม่าดำ ยางเอ็นบีอาร์/ยางเอชเอ็นบีอาร์ที่เติมด้วยผงซิลิกาเกรดการค้าและผงเถ้าลอย / |
26 |
ยางเซลลูลาร์จากวัสดุผสมยางธรรมชาติกับยางเอสบีอาร์สำหรับผลิตภัณฑ์ยางปะเก็นและยางรองกันกระแทกเสริมแรงโดยผงเถ้าลอย ผงซิลิกา และผงเขม่าดำ |
ปี พ.ศ. 2551 |
27 |
โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รุ่นที่ 11 |
28 |
การพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รุ่นที่ 10 [50] |
29 |
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านพอลิเมอร์และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ [50] |
30 |
การออกแบบกรรมวิธีการผสมเพื่อผลิตถังบำบัดน้ำทิ้งจากวัสดุผสมพอลิเอทธิลีนและเถ้าลอยในกระบวนการขึ้นรูปแบบแม่พิมพ์หมุนเหวี่ยง [50] |
31 |
การพัฒนาสูตรยางทนน้ำมันกันรั่วสำหรับงานไฮดรอริก [50] |
32 |
ผลของการเติมสารยับยั้งจุลินทรีย์ที่มีต่อประสิทธิภาพการยับยั้งจุลินทรีย์ในวัสดุบรรจุภัณฑ์พอลิเอทธิลีนความหนาแน่นสูง [49] |
33 |
การปรับปรุงสมบัติทางกลเชิงโครงสร้างของผลิตภัณฑ์จากวัสดุผสมพีวีซีและผงขี้เลื่อยไม้โดยการใช้เส้นใยสังเคราะห์ |
34 |
การเพิ่มความเหนียวของวัสดุบรรจุภัณฑ์น้ำมันหล่อลื่นจากพอลิเมอร์ผสมระหว่างเม็ดพอลิเอธิลีนชนิดความหนาแน่นสูงกับยางสไตรีน-บิวทาไดอีนขนาดอุลตร้าไฟน์และโพรพิลีน-เอธิลีน โคพอลิเมอร์ |
35 |
การพัฒนาวัสดุผสมระหว่างยางธรรมชาติและยางคลอโรพรีนที่มีเถ้าลอยเป็นสารเติมแต่ง |
36 |
ความเค้นเฉือน ปริมาณบวมตัว และรูปแบบความเร็วเชิงรัศมีของพอลิเมอร์หลอมเหลวขณะไหลในเครื่องอัดรีดแบบเกลียวหนอนเดี่ยวโดยใช้หัวขึ้นรูปสนามแม่เหล็กไฟฟ้า |
37 |
การพัฒนาฐานข้อมูลวารสารวิชาการในประเทศ |
38 |
อิทธิพลของสารยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย ที่มีต่อสมาชิกการต้านทานการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย ในพอลิเอทธิลีน ชนิดความหนาแน่นปานกลาง |
39 |
อิทธิพลของหัวขึ้นรูปแบบหมุนเคลื่อนที่ ที่มีต่อรูปแบบการไหลและพฤติกรรมการบวมตัว ของสารประกอบยางธรรมชาติ ในเครื่องคาบิลารี่รีโอมิเตอร์ |
40 |
อิทธิพลของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ที่มีต่อพฤติกรรมการบวมตัว ของพอลิเมอร์หลอมเหลว ในกระบวนการอัดรีดร่วม |
ปี พ.ศ. 2550 |
41 |
การพัฒนาพอลิเมอร์ผสมระหว่างยางธรรมชาติกับยางเอ็นบีอาร์ที่มีเถ้าลอยเป็นสารเติมแต่งเพื่อขึ้นรูปผลิตภัณฑ์โอริง |
42 |
สมบัติทางวิศวกรรมและการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับผลิตภัณฑ์ไม้หน้าตัดกลวงจากวัสดุผสมระหว่างพลาสติกกับขี้เลื่อยไม้ |
43 |
การพัฒนาวัสดุและเทคโนโลยีการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์หลังคายางประหยัดพลังงานจากวัสดุผสมยางธรรมชาติกับขี้เลื่อย |
44 |
การปรับปรุงสมบัติทางกลเชิงโครงสร้างของผลิตภัณฑ์จากวัสดุผสมพีวีซีและผงขี้เลื่อยไม้โดยการใช้เส้นใยสังเคราะห์ |
45 |
การพัฒนาสูตรยางทนน้ำมันกันรั่วสำหรับงานไฮดรอริก |
46 |
ยางเซลลูลาร์จากวัสดุผสมยางธรรมชาติกับยางเอสบีอาร์ สำหรับผลิตภัณฑ์ยางปะเก็นและยางรองกันกระแทก:เสริมแรงโดยผงเถ้าลอย ผงซิลิกา และผงเขม่าดำ |
47 |
การพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับเด็กและเยาวชนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รุ่นที่ 10 [50] |
48 |
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านพอลิเมอร์และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ [50] |
49 |
ผลของการเติมสารยับยั้งจุลินทรีย์ที่มีต่อประสิทธิภาพการยับยั้งจุลินทรีย์ในวัสดุบรรจุภัณฑ์พอลิเอทธิลีนความหนาแน่นสูง [49] |
50 |
การออกแบบกรรมวิธีการผสมเพื่อผลิตถังบำบัดน้ำทิ้งจากวัสดุผสมพอลิเอทธิลีนและเถ้าลอยในกระบวนการขึ้นรูปแบบแม่พิมพ์หมุนเหวี่ยง |
51 |
การเสริมแรงยางธรรมชาติด้วยเถ้าลอยจากแหล่งต่างๆ ภายในประเทศ |
52 |
ความเค้นเฉือน ปริมาณบวมตัว และรูปแบบความเร็วเชิงรัศมีของพอลิเมอร์หลอมเหลวขณะไหลในเครื่องอัดรีดแบบเกลียวหนอนเดี่ยว โดยใช้หัวขึ้นรูปสนามแม่เหล็กไฟฟ้า |
53 |
การพัฒนาวัสดุและเทคโนโลยีการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์หลังคายางประหยัดพลังงานจากวัสดุผสมยางกับขี้เลื่อย |
ปี พ.ศ. 2549 |
54 |
การพัฒนาวัสดุผสมระหว่างยางธรรมชาติกับยางเอสบีอาร์ที่มีเถ้าลอยเป็นสารเติมแต่ง |
ปี พ.ศ. 2548 |
55 |
พฤติกรรมบวมตัวเชิงรัศมีของพอลิเมอร์หลอมเหลวในเครื่องคาปิลารี่รีโอมิเตอร์ |
56 |
การชุบเคลือบผิววัสดุผสมด้วยไฟฟ้าโดยใช้ระบบการหมุนคาโทด 3 มิติ |
57 |
การออกแบบและจัดสร้างเครื่องมือต้นแบบสำหรับวัดความดัน |
58 |
การผลิตและทดสอบหลังคายางพารา จากวัสดุผสมยางธรรมชาติกับขี้เลื่อย |
59 |
สภาวะการผลิตและสมบัติของผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ ที่มีเถ้าลอยเป็นสารเติมแต่ง |
ปี พ.ศ. 2547 |
60 |
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีกายภาพของผ้าไหมไทย |
61 |
พัฒนาโปรแกรมจัดเก็บและแสดงข้อมูลผลงานตีพิมพ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยที่ปรากฏในฐานข้อมูล Science Citation Index (SCI) ปี 2546 : รายงานฉบับสมบูรณ์ |
62 |
พฤติกรรมบวมตัวเชิงรัศมีของพอลิเมอร์หลอมเหลว ในเครื่องคาปิลารีรีโอมิเตอร์ |
ปี พ.ศ. 2546 |
63 |
การศึกษาวิจัยดัชนีผลกระทบการอ้างอิงของวารสารวิชาการภายในประเทศ |
ปี พ.ศ. 2545 |
64 |
การตรวจสอบพฤติกรรมการไหลของพอลิเมอร์หลอมเหลวในเครื่องคาปิลารี่รีโอมิเตอร์แบบใหม่ |
65 |
การตรวจวัดอุณหภูมิของพอลิเมอร์หลอมเหลวขณะไหลในเครื่องผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก (ระยะที่ 2) |
ปี พ.ศ. 2543 |
66 |
การออกแบบและพัฒนาเครื่องคาปิลารีรีโอมิเตอร์แบบใหม่ที่ใช้งานสารพัดอย่าง |
67 |
ปัญหาการเกาะยึดระหว่างวัสดุเหล็กและโพลิเอทธิลีนโฟมในระบบท่อลมเย็น |
ปี พ.ศ. 2542 |
68 |
การออกแบบและพัฒนาเครื่องมือวัดอุณหภูมิและชุดทดสอบคุณสมบัติของพลาสติกเหลวในเครื่องมือผลิตชิ้นงานพลาสติก |