ปี พ.ศ. 2559 |
1 |
นโยบายและแนวทางการบำรุงรักษาอาคารในหน่วยงานราชการทหาร : กรณีศึกษา สำนักงานพัฒนาภาค1-5 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย |
2 |
ผลการดำเนินมาตรการเพิ่มอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินที่มีต่อการพัฒนาตามผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร |
3 |
สถาปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพลตะวันตกในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว |
4 |
รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณท่าเรือโดยสารริมแม่น้ำเจ้าพระยา |
5 |
รูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินและการเดินทางเข้าถึงสถานีของผู้อยู่อาศัยในอาคารชุดรอบสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส |
6 |
การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมแสงสว่างเวลากลางคืน (Nighttime Light Satellite Image) วิเคราะห์ความเจริญเติบโตของเมือง ในประเทศไทย |
7 |
แนวทางการจัดการน้ำผิวดินโดยการประยุกต์ใช้แนวคิดโครงสร้างพื้นฐานเขียวกรณีศึกษาเทศบาลนครอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี |
8 |
การประเมินความเสี่ยงภัยการขาดแคลนน้ำในพื้นที่เมืองอุดรธานี |
9 |
การจัดการงานดินโครงการก่อสร้างอาคารหน่วยงานของรัฐในเขตกรุงเทพมหานคร |
ปี พ.ศ. 2558 |
10 |
การวิเคราะห์ภูมิทัศน์เพื่อการจำแนกพื้นที่ลุ่มน้ำของเกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่ |
11 |
รูปแบบธุรกิจการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ : กรณีศึกษา บริษัท แลนด์แอนด์เฮาส์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท พฤกษาเรียลเอสเตท จำกัด (มหาชน) |
12 |
รูปแบบการให้แสงสว่างประดับตกแต่งสำหรับมัสยิดเขตธนบุรีในกรุงเทพมหานคร |
13 |
ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะเชิงสัณฐานและการระบายอากาศเมืองในพื้นที่พัฒนาหนาแน่นของกรุงเทพมหานครชั้นใน |
14 |
ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะเชิงสัณฐานและการระบายอากาศเมืองในพื้นที่พัฒนาหนาแน่นของกรุงเทพมหานครชั้นใน |
15 |
รูปแบบการให้แสงสว่างประดับตกแต่งสำหรับมัสยิดเขตธนบุรีในกรุงเทพมหานคร |
16 |
รูปแบบธุรกิจการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ : กรณีศึกษา บริษัท แลนด์แอนด์เฮาส์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท พฤกษาเรียลเอสเตท จำกัด (มหาชน) |
17 |
การวิเคราะห์ภูมิทัศน์เพื่อการจำแนกพื้นที่ลุ่มน้ำของเกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่ |
18 |
ความพึงพอใจของผู้เข้าพักอาศัยอาคารอยู่อาศัยรวมที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโรงพยาบาลเอกชน กรณีศึกษา: โครงการเซอร์วิสอพาร์ทเมนต์และอพาร์ทเมนต์รอบโรงพยาบาลกรุงเทพ |
19 |
สภาพกายภาพและการบริหารจัดการหอพักเอกชนระดับ 5 ดาวของโครงการหอพักติดดาว:กรณีศึกษา หอพักเอกชนรอบมหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตหัวหมาก |
20 |
การประยุกต์แนวคิดโครงการบ้านมั่นคง ในการพัฒนาชุมชนที่อยู่อาศัยของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์: กรณีศึกษา ชุมชนในเขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร |
21 |
การปฏิบัติวิชาชีพของสถาปนิกในงานบริหารและอำนวยการก่อสร้างช่วงปี พ.ศ. 2547-2557 |
22 |
คุณค่าและการเปลี่ยนแปลงของวัดจีน ในสังกัดคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย กรณีศึกษา : วัดจีนในกรุงเทพฯ |
23 |
การบริหารจัดการงานก่อสร้างการปรับปรุงอาคารอนุรักษ์ |
24 |
แนวทางการปรับเปลี่ยนของเซอร์วิสอพาร์ตเมนต์กึ่งโรงแรม: กรณีศึกษา โรงแรมจัสมิน ซิตี้ และโรงแรมซัมเมอร์เซ็ท เลค พ้อยท์ กรุงเทพมหานคร |
25 |
ลักษณะและค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาบันไดเลื่อน |
26 |
ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานของหลังคาอาคารสีขาวที่เคลือบสีเทอร์โมโครมิก |
27 |
ปัญหาและผลกระทบจากการใช้งานระบบประกอบอาคาร: กรณีศึกษาอาคารส่วนสนับสนุนการบริการ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
28 |
การจัดการที่จอดรถยนต์ของโรงพยาบาล: กรณีศึกษาโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร จำนวน 6 แห่ง |
29 |
การรับรู้ความรู้สึกปลอดภัยและประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานของระบบไฟฟ้าแสงสว่างบนทางสัญจรทางเท้า |
30 |
ลักษณะและค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาระบบลิฟต์ในอาคารสำนักงาน |
31 |
สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุในโครงการจัดสรรประเภทบ้านเดี่ยว บ้านแฝด บ้านแถว: กรณีศึกษา โครงการไอลีฟพาร์ค และ ไอลีฟทาวน์ กานดา พระราม 2 กม.14 (แสมดำ) |
32 |
การจัดการกระบวนการตกแต่งและรื้อถอนพื้นที่ร้านค้าภายในศูนย์การค้า |
33 |
ความเหลื่อมล้ำด้านที่อยู่อาศัยในบริเวณชานเมืองด้านทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร |
34 |
โครงการวางผังและการออกแบบอาคารเขตพุทธาวาส วัดเขาทำเทียม จังหวัดสุพรรณบุรี |
35 |
การเปลี่ยนแปลงการบริหารทรัพยากรกายภาพท่าอากาศยาน ปี พ.ศ. 2549-2557กรณีศึกษา : ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ |
36 |
พฤติกรรมการเดินของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในพื้นที่กรุงรัตนโกสินทร์ |
37 |
ปัจจัยในการซื้อบ้านเดี่ยวและทาวน์เฮาส์ในหมู่บ้านจัดสรร จังหวัดชลบุรี : กรณีศึกษา บริษัท ไลฟ แอนด์ ลีฟวิ่ง จำกัด |
38 |
รูปแบบการดัดแปลงอาคารและค่าใช้จ่ายของการเปลี่ยนแปลงการใช้งานตึกแถวในเขตเทศบาลเมืองศรีราชา จังหวัดชลบุรี |
39 |
กระบวนการพัฒนาโครงการรีสอร์ทเพื่อสุขภาพ: กรณีศึกษา โครงการเต๋าการ์เด้น เฮลธ์สปาแอนด์รีสอร์ท และโครงการปานวิมาน เชียงใหม่ สปา รีสอร์ท |
40 |
ความต้องการของเจ้าของเรือนในการปรับปรุงซ่อมแซมเรือนไทย ในพื้นที่โดยรอบตลาดน้ำอัมพวา อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม |
41 |
แนวคิดการอนุรักษ์หมู่กุฏิสงฆ์ ในตำบลสามโคก อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี : กรณีศึกษาหมู่กุฏิสงฆ์ วัดสามโคก |
42 |
การวางแผนทางการเงินเพื่อที่อยู่อาศัยของบัณฑิตจบใหม่ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
43 |
การจัดการงานก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่พิเศษตามมาตรฐานอาคารเขียว |
44 |
ข้อจำกัดด้านกายภาพของหอพักและที่พักนักศึกษาโดยรอบมหาวิทยาลัยกับมาตรฐานตามพระราชบัญญัติหอพักพุทธศักราช 2558: กรณีศึกษา ที่พักบริเวณรอบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต |
45 |
การพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์ชายหาดท่องเที่ยวบนเกาะล้าน จังหวัดชลบุรี |
46 |
กระบวนการปรับประโยชน์ใช้สอยอาคารเก่าเพื่อเป็นศูนย์การค้า: กรณีศึกษาโครงการเอเชียทีค เดอะริเวอร์ฟร้อนท์ กรุงเทพมหานคร |
47 |
การพัฒนาวัสดุกันเสียงและดูดซับเสียงจากเส้นใยเปลือกทุเรียน |
48 |
กลยุทธ์ในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทอาคารชุดของผู้ประกอบการท้องถิ่นในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
49 |
การพัฒนาโรงแรมที่มีอาคารอนุรักษ์อายุมากกว่า 100 ปี ให้เป็นส่วนหนึ่งของโรงแรม:กรณีศึกษา โรงแรมระรินจินดา เวลล์เนส สปาแอนด์รีสอร์ท และ อนันตรา เชียงใหม่ รีสอร์ท จังหวัดเชียงใหม่ |
50 |
แนวทางการพัฒนาโครงการศูนย์การค้าที่มีร้านค้าย่อย: กรณีศึกษา โครงการศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซาแกรนด์พระราม9 โครงการศูนย์การค้าเทอร์มินัล21 และโครงการศูนย์การค้าสยามสแควร์1 |
51 |
กระบวนการพัฒนาโครงการอาคารชุดประเภทที่พักอาศัยภายใต้แบรนด์: กรณีศึกษา เดอะเรสซิเดนซ์ แอท แมนดาริน โอเรียลเต็ล กรุงเทพฯ และเดอะเรสซิเดนเซส แอท เดอะเซนต์ รีจิส กรุงเทพฯ |
52 |
ความต้องการที่อยู่อาศัยของพนักงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
53 |
การจัดการงานรักษาความสะอาด คอมมูนิตี้ มอลล์ |
54 |
กระบวนการและปัจจัยการตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยในโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ขนาดเล็ก : กรณีศึกษา เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร |
55 |
ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกเช่าคลังสินค้า ของผู้ประกอบการกรณีศึกษา : โครงการทีพาร์ค บางพลี 1,2 และ 3 |
56 |
การรับรู้ของผู้อยู่อาศัยต่อระบบไฟฟ้าแสงสว่างประหยัดพลังงานในพื้นที่ส่วนกลาง โครงการจัดสรร : กรณีศึกษา โครงการ ไอลีฟทาวน์ พระราม 2 กม.14(แสมดำ) บริษัท กานดา พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด |
57 |
การใช้พื้นที่อาคารราชการ กรณีศึกษาศูนย์บริหารราชการจังหวัดอำนาจเจริญ |
58 |
แนวทางการปรับปรุงด้านการประหยัดพลังงานและการควบคุมความชื้นสำหรับอาคารเก่าที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ในเขตภูมิอากาศร้อนชื้น |
59 |
การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนเปรียบเทียบระหว่างการก่อสร้างผนังภายในแบบคอนกรีตหล่อในที่ และแบบก่ออิฐฉาบปูน: ของโครงการอาคารชุดพักอาศัย |
60 |
การบริหารลูกค้าสัมพันธ์สำหรับอาคารสำนักงาน |
61 |
แหล่งเงินทุนเพื่อพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ช่วงก่อนและหลังเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยของบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่เข้าจดทะเบียนหลังปี พ.ศ. 2540 |
62 |
พฤติกรรมการใช้พื้นที่ภายในห้องพักอาศัยในอาคารชุดของกลุ่มผู้ที่ซื้อเพื่อการอยู่อาศัยจริง: กรณีศึกษาโครงการพระราม3-ริเวอร์วิว, ลุมพินี วิลล์ แบริ่ง-ลาซาล, เดอะซี้ดสาทร-ตากสิน และ เดอะแบงค็อค นราธิวาส |
63 |
แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคารเรียน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
64 |
ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานของหน้าต่างกระจกเทอร์โมโครมิก, โพลิเมอร์-ดิสเพอร์สด์ ลิควิด คริสตัล, และโลว์-อี ในเขตอากาศร้อนชื้น |
65 |
วิธีและมาตรการที่ใช้ในการจัดเก็บค่าบำรุงรักษาและการจัดการสาธารณูปโภคของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร |
66 |
แนวทางการพัฒนาและการบริหารพื้นที่โครงการที่ใช้ประโยชน์แบบผสม: กรณีศึกษา เทอมินอล 21 และเดอะแพลทินัม (ส่วนขยาย) |
67 |
วิธีการบำรุงรักษาและปรับปรุงสภาพงานท่อระบบสุขาภิบาลภายในอาคารเก่า เพื่อให้พร้อมใช้งาน : กรณีศึกษาอาคารสำนักงาน |
68 |
แนวทางการพัฒนาและบริหารจัดการโครงการอาคารเช่าของการเคหะแห่งชาติ |
69 |
แนวทางการออกแบบพื้นที่เมืองเพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมขังภายใต้มาตรการการให้สิทธิ์อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่ม |
70 |
แนวทางการพัฒนาพื้นที่โล่งรอบอาคารพาณิชยกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์ : กรณีศึกษาพื้นที่ศูนย์กลางธุรกิจกรุงเทพมหานคร |
71 |
การศึกษาการใช้สอยที่ว่างในการอยู่อาศัยแบบวิถีเกษตรพอเพียง: กรณีศึกษา ชุมชนบ้านลำไทร เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร |
72 |
ผลกระทบจากภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงต่อการใช้พลังงานอาคารในเขตร้อนชื้น |
73 |
อิทธิพลของการให้แสงสีภายนอกอาคาร ต่อการรับรู้สภาพบรรยากาศและความรู้สึกสงบ กรณีศึกษาโบสถ์วัดกาลหว่าร์ กรุงเทพมหานคร |
74 |
แนวทางการออกแบบองค์ประกอบทางกายภาพเมืองเพื่อแก้ปัญหามลภาวะทางเสียงจากการจราจรในกรุงเทพมหานคร |
75 |
การออกแบบแผงบังแดดเพื่อได้แสงธรรมชาติและประสิทธิภาพด้านพลังงานในอาคารตามเกณฑ์การประเมินอาคารเขียว วี4 (LEED v4) |
76 |
ผลกระทบของเงาอาคารข้างเคียงต่อประสิทธิภาพการใช้พลังงานของอาคารสำนักงาน ตามเกณฑ์ LEED VERSION 4 |
77 |
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของชุมชนในตำบลเจ็ดริ้ว จังหวัดสมุทรสาคร |
78 |
"การหาพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นพื้นที่สีเขียวของเขตดินแดง" |
79 |
กระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อการบริหารจัดการที่ดินทำกินของผู้มีรายได้น้อย: กรณีศึกษา โครงการบ้านมั่นคงเมืองชุมแพ จังหวัดขอนแก่น |
80 |
ผลกระทบของการพัฒนาสถาบันการศึกษาต่อการพัฒนาเมืองในจังหวัดนครศรีธรรมราช |
81 |
ปัจจัยทางกายภาพที่ส่งผลต่อคุณภาพของพื้นที่เปิดโล่งกึ่งสาธารณะในศูนย์การค้าชุมชน |
82 |
แนวทางการออกแบบภูมิทัศน์เมืองเพื่อการสัญจรในพื้นที่ย่านราชดำเนินกลาง |
83 |
แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช และชุมชนรอบข้างเพื่อรองรับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก |
84 |
บทบาทของตลาดนัดจตุจักรกับการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์ |
85 |
แนวทางการใช้งานพื้นที่ว่างในสถานศึกษาที่ถูกยุบเลิกในจังหวัดพะเยา |
86 |
การประสานประโยชน์ในโครงการพัฒนาประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์: กรณีศึกษาพื้นที่สะพานขาวฝั่งเหนือ |
87 |
พัฒนาการวิธีการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยของการเคหะแห่งชาติ |
88 |
ปัจจัยการซื้อที่อยู่อาศัยในหมู่บ้านจัดสรร: กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี |
89 |
การปรับปรุงระบบอาคารของอาคารสูงประเภทโรงพยาบาล ในระหว่างเปิดใช้งานอยู่ กรณีศึกษา อาคาร ภปร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
90 |
ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับภูมิทัศน์ชุมชนประมงพื้นบ้านปากแม่น้ำกระบี่ อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ |
91 |
การศึกษาสภาพการอยู่อาศัยและปัญหาการอยู่อาศัยภายในอาคารสวัสดิการชั้นประทวน กองบัญชาการกองทัพไทย กรณีศึกษา : พื้นที่ทุ่งสีกัน |
92 |
โครงสร้างค่าใช้จ่ายในการจัดการและดูแลทรัพย์ส่วนกลางของนิติบุคคลอาคารชุด:กรณีศึกษา โครงการลุมพินี พาร์ค ปิ่นเกล้า |
ปี พ.ศ. 2557 |
93 |
รายงานการศึกษาวิจัยเพื่อแก้ปัญหาเรื่องเสียงรบกวนจากสนามยิงปืน |
94 |
แนวทางการฟื้นฟูย่านพาณิชยกรรมศูนย์กลางเมืองเพื่อสร้างความหลากหลายกรณีศึกษา พื้นที่สีลม |
95 |
แนวทางการพัฒนาเคหะชุมชนสำหรับผู้มีรายได้หลายระดับ:กรณีศึกษาโครงการเคหะชุมชนห้วยขวาง |
96 |
พัฒนาการการดำเนินงานอาคารเช่าของการเคหะแห่งชาติระหว่างพ.ศ.2516-2556 |
97 |
การติดตามผลการดำเนินงานโครงการปรับปรุงฟื้นฟูอาคารอนุรักษ์ ประเภทอาคารพาณิชย์พักอาศัย ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
98 |
การสำรวจความเห็นที่มีต่อการพัฒนาของผู้ประกอบการ และผู้ใช้บริการ: กรณีศึกษา ศูนย์การค้าสยามสแควร์ |
99 |
แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงด้านกายภาพศูนย์เอนกประสงค์สำหรับผู้สูงอายุ |
100 |
ความสอดคล้องระหว่างข้อกำหนดผังเมืองรวมกับพื้นที่ระบายน้ำฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานคร |
101 |
แนวทางการพัฒนาระบบการอบรมวิชาชีพทดแทนการสอบเพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพระดับภาคีสถาปนิกสาขาสถาปัตยกรรมหลัก |
102 |
การเปลี่ยนแปลงอุปทานของที่อยู่อาศัยสำหรับนักศึกษาประเภทหอพักและอพาร์ทเม้นท์: กรณีศึกษาพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ช่วงปีพ.ศ.2539–พ.ศ.2557 |
103 |
กระบวนการจัดทำรายละเอียดโครงการและการบริหารจัดการโครงการศูนย์ชุมชนแบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาศูนย์ชุมชนบึงพระรามเก้าและชุมชนบึงพระรามเก้าพัฒนา |
104 |
แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาภูมิทัศน์พื้นที่คำชะโนด อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี |
105 |
พฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี ในประเทศไทย |
106 |
เอกสารในการส่งมอบงานสำหรับโครงการขนาดเล็กในการให้บริการออกแบบสถาปัตยกรรม |
107 |
บันทึกรายการงานและค่าใช้จ่ายของการทำงานออกแบบในสำนักงานสถาปนิกขนาดใหญ่ |
108 |
คุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยที่เกิดจากพื้นที่สีเขียวภายในโครงการหมู่บ้านจัดสรร ระดับราคาปานกลาง กรณีศึกษา: โครงการเพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ และโครงการเพอร์เฟค เพลส ราชพฤกษ์ |
109 |
โครงการและการออกแบบวัดบางกุ้งเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช |
110 |
การประเมินโครงการอสังหาริมทรัพย์ตามแนวทาง ECOVILLAGE และ LEED-ND V4 กรณีศึกษา โครงการบ้านจัดสรรขนาดกลาง กรุงเทพมหานคร |
111 |
รูปแบบเขื่อนป้องกันน้ำท่วมเพื่อวิถีชีวิตชุมชนเมืองริมน้ำ กรณีศึกษา ชุมชนปากคลองมหาสวัสดิ์ กรุงเทพมหานคร |
112 |
ประสิทธิภาพการทำความเย็นของแผ่นฝ้าเย็นที่ใช้แผ่นเทอร์โมอิเล็คทริกเป็นตัวทำความเย็น |
113 |
การจัดการสถาปัตยกรรมไทย : กรณีศึกษา สถาปัตยกรรมพุทธศาสนาในวัด พ.ศ.2538 - ปัจจุบัน (พ.ศ.2557) |
114 |
การจัดการสถาปัตยกรรมไทย: กรณีศึกษาอาคารราชการ พ.ศ. 2538 - ปัจจุบัน (พ.ศ.2557) |
115 |
แนวทางการออกแบบพื้นที่รอยต่อระหว่างมหาวิทยาลัยศูนย์กลางเมืองและพื้นที่โดยรอบ: กรณีศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
116 |
แนวทางการปรับปรุงหอพักสำหรับคนพิการทางการมองเห็น: กรณีศึกษา วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล และ โรงเรียนสอนคนตาบอด กรุงเทพมหานคร |
117 |
แนวทางการพัฒนาและบริหารอาคารทางประวัติศาสตร์มาเป็นโรงแรมบูติคในเขตกรุงเทพฯ กรณีศึกษา โรงแรมจักรพงษ์วิลล่าและโรงแรมพระยาพาลาซโซ |
118 |
การประเมินหลังการใช้งานพื้นที่บริเวณศูนย์บริการนักท่องเที่ยวและลานกางเต็นท์อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ |
119 |
แนวทางการประหยัดพลังงานของศูนย์การค้า : ผลการศึกษา 6 กรณีศึกษาในกรุงเทพมหานคร |
120 |
กระบวนการทำความสะอาดพื้นที่บริการผู้ป่วยของโรงพยาบาล : กรณีศึกษา 6 โรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร |
121 |
ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมต่อชุมชนจากการถูกโยกย้ายที่อยู่อาศัยในโครงการก่อสร้างสนามบินหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว |
122 |
การบริหารจัดการชุมชนของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ : กรณีศึกษา โครงการคลองไผ่สิงโต เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร |
123 |
คติพุทธในเรือนพื้นถิ่นชาวไทยพุทธ ชุมชนพุมเรียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี |
124 |
พฤติกรรมผู้ซื้อทรัพย์รอการขาย : กรณีศึกษา ผู้เข้าชมทรัพย์รอการขายของสถาบันการเงินในงานบ้านและคอนโดปี2557 |
125 |
การอยู่อาศัยของผู้อยู่อาศัยในห้องชุดขนาดเล็ก : กรณีศึกษา ลุมพินีเพลส พระราม9 - รัชดา |
126 |
แนวทางการพัฒนาโครงการของผู้ประกอบการกับการใช้งานของผู้พักอาศัยในอาคารชุดพักอาศัยใกล้สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส: กรณีศึกษา สถานีอ่อนนุช สถานีอารีย์ และสถานีกรุงธนบุรี |
127 |
แนวทางการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ตามแนวรถไฟฟ้าสายสีม่วง โดยใช้ทฤษฎีการพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานี (TOD) |
128 |
ลักษณะทางกายภาพและสภาพแวดล้อมของพื้นที่พักรอตรวจส่วนงานบริการผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล : กรณีศึกษา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
129 |
กระบวนการพัฒนาโรงแรมบูติคที่มีกิจการเพื่อสังคม |
130 |
แนวทางในการจัดให้มีเครื่องเรือนที่เหมาะสมสำหรับห้องชุดพักอาศัยขนาดเล็กระดับราคา 1.5 ล้านบาทกรณีศึกษา : โครงการลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท77(2) |
131 |
แนวทางการปรับปรุงภูมิทัศน์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภายใต้แนวความคิดมหาวิทยาลัยสีเขียว |
132 |
คติพุทธในชุมชนไทยพุทธพุมเรียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี |
133 |
ชิ้นส่วนชุดช่องท่อสำเร็จรูปและวิธีการติดตั้งสำหรับอาคารชุดพักอาศัย |
134 |
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินตามแนวรถไฟฟ้าที่ทำให้เกิดการพัฒนาเต็มศักยภาพตามผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร |
135 |
กระบวนการและปัญหาการจัดการขยะในสถานศึกษาขนาดใหญ่: กรณีศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
136 |
การพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมประเภทโครงการอาคารอยู่อาศัยรวม ภายหลังประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2552 |
137 |
ประสิทธิภาพการกันความร้อนของแผงอลูมิเนียมฉลุลาย |
138 |
ความเปลี่ยนแปลงของปูนหมักในงานอนุรักษ์สถาปัตยกรรมไทย |
139 |
ผลกระทบของรูปทรง การวางทิศทาง และเปลือกอาคารชุดพักอาศัยต่อประสิทธิภาพการประหยัดพลังงาน เปรียบเทียบกับอาคารตามมาตรฐาน ASHRAE 90.1 2010 |
140 |
ประสิทธิภาพของเครื่องผลิตพลังงานไฟฟ้าเทอร์โมอิเล็กทริกเมื่อใช้งานกับเปลือกอาคารและระบบผนังสองชั้นระบายอากาศ |
141 |
แนวทางการออกแบบผังพื้นภายในห้องตรวจและวินิจฉัย แผนกผู้ป่วยนอก : กรณีศึกษา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
142 |
ผลกระทบทางด้านองค์ประกอบการออกแบบแสงสว่างที่มีผลต่อการรับรู้ความรู้สึก: กรณีศึกษา โถงประดิษฐานพระพุทธรูปในกรุงเทพมหานคร |
143 |
สภาวะน่าสบายเชิงอุณหภาพสำหรับผู้สูงอายุภายในบ้านพักคนชราในประเทศไทย |
144 |
การประเมินสภาพแวดล้อมเพื่อการรักษาภายในแผนกผู้ป่วยนอก: การรับรู้และความพึงพอใจของผู้ใช้อาคาร |
145 |
การออกแบบการส่องแสงสว่างสำหรับชานชาลาสถานีรถไฟฟ้ากรณีศึกษา สถานีรถไฟฟ้าเชื่อมต่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สถานีลาดกระบัง |
146 |
การเทียบสมรรถนะด้านการใช้พลังงานในอาคารของมหาวิทยาลัย : กรณีศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
147 |
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะน่าสบายและทัศนียภาพของอาคารเขียวตามเกณฑ์ลีด (LEED) ในประเทศไทย |
148 |
ผลกระทบความซับซ้อนเชิงภาพต่อการรับรู้สภาพแวดล้อมของผู้ใช้อาคาร: กรณีศึกษาโถงต้อนรับสำนักงานขายของคอนโดมิเนียม |
149 |
ประสิทธิภาพในการป้องกันความร้อนของฝ้าเพดานต้นอ้อ |
150 |
ประสิทธิภาพทางความร้อนของผนังไม้ไผ่ในบ้านเขตร้อนชื้น |
151 |
การลดน้ำหนักโครงสร้างอาคารด้วยพื้นประกอบไฟเบอร์กลาส |
152 |
บทบาทองค์กรภาครัฐต่อการสนับสนุนระบบการเงินที่อยู่อาศัยของประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย |
153 |
การอุดรอยต่อฝ้าเพดานสำเร็จรูปเพื่อกันความร้อน |
154 |
ความคุ้มค่าทางการเงินของการลงทุนโครงการอาคารชุดเพื่อให้ได้รับการส่งเสริมการเพิ่มอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (F.A.R. BONUS) จากการผ่านเกณฑ์ TREES-PRE NC : กรณีศึกษา โครงการ ไอดิโอโมบิ ในกรุงเทพมหานคร |
155 |
โอกาสและข้อจำกัดในการนำเกณฑ์ ชุมชนน่าอยู่น่าสบายอย่างยั่งยืน (Eco village)มาใช้กับการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยของการเคหะแห่งชาติ |
156 |
การพัฒนาเกณฑ์การบริหารจัดการโครงการหลังการเข้าอยู่อาศัยอย่างยั่งยืนสำหรับโครงการที่อยู่อาศัยของการเคหะแห่งชาติ |
157 |
การเกิด รูปแบบ และผลกระทบด้านเศรษฐกิจของพื้นที่ตาบอด ในเขตบางเขน และเขตสายไหม ในกรุงเทพมหานคร |
158 |
วัดในเมืองเชียงใหม่ที่ปรากฏในแผนที่ประวัติศาสตร์ |
159 |
สถาปัตยกรรมในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว |
160 |
การแก้ปัญหาเรื่องเสียงรบกวนจากสนามยิงปืน : รายงานการวิจัย |
ปี พ.ศ. 2556 |
161 |
การเปรียบเทียบผลของการใช้อัลโลพูรินอล (ALLOPURINOL) และสารสกัดหญ้าหนวดแมว [ORTHOSIPHON ARISTATUS (BLUME) MIQ.] ต่อค่าโลหิตวิทยาและค่าองค์ประกอบทางเคมีของปัสสาวะในเต่าดาวอินเดีย (GEOCHELONE ELEGANS) |
162 |
การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์วัฒนธรรมของเมืองเรณูนคร จังหวัดนครพนม |
163 |
ศิลปะและสถาปัตยกรรม |
164 |
การเปลี่ยนแปลงเชิงสัณฐานของชุมชนย่านคลองสาน ธนบุรี |
165 |
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่ของเมืองสงขลา ก่อนและหลังการสร้างสะพานติณสูลานนท์ |
166 |
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมชุมชนริมคลองดำเนินสะดวก ช่วงหลักที่ 5 ถึงหลักที่ 6 จังหวัดราชบุรี และจังหวัดสมุทรสาคร |
167 |
ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งถิ่นฐานชุมชนเทศบาลตำบลนครเนื่องเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา |
168 |
คติ และ สัญลักษณ์ ในการออกแบบสถาปัตยกรรมของสัปปายะสภาสถาน |
169 |
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสีป้องกันความร้อนผสมอนุภาคซิลิกากับวิธีการป้องกันความร้อนอื่นๆ |
170 |
การติดตั้งฉนวนภายนอกอาคาร โดยวิธีที่สามารถทำได้ด้วยตนเอง |
171 |
แนวทางการปรับปรุงระบบการสัญจรเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเมืองตรัง |
172 |
รูปแบบการจ้างที่ปรึกษาบริหารโครงการและจ้างควบคุมงานก่อสร้าง ภาครัฐ |
173 |
การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ของอาคารประหยัดพลังงานที่ได้รับการส่งเสริมการเพิ่มอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (FAR BONUS) |
174 |
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของเมืองเก่าลพบุรี |
175 |
การจัดการที่อยู่อาศัยในภาวะอุทกภัย กรณีศึกษา: โครงการบ้านพฤกษา 11 ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี |
176 |
กระบวนการการลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ของนักลงทุนไทย ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว |
177 |
การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะพื้นที่รองรับกิจกรรมแห่พระพุทธเกษรทางน้ำ |
178 |
ข้อพิจารณาเพื่อการออกแบบสวนสาธารณะของหมู่บ้านจัดสรรขนาดกลาง ระดับราคาปานกลาง ในกรุงเทพมหานคร เขตต่อเมือง (ด้านตะวันออก) |
179 |
แนวทางการออกแบบและปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุในพื้นที่วัด |
180 |
สภาพการอยู่อาศัยและพฤติกรรมสุขภาพของชาวญี่ปุ่นในอาคารอยู่อาศัยรวม เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร |
181 |
พฤติกรรมการเดินของผู้ที่เปลี่ยนมาใช้บริการรถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS) |
182 |
บทบาทหน้าที่และการมีส่วนร่วมในการบริหารอาคารชุดของเจ้าของร่วม : กรณีศึกษา โครงการลุมพินี สวีท พระราม 8 โครงการลุมพินี วิลล์ บางแค และโครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ บางแค ของ บริษัท แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) |
183 |
ขนาดของห้องชุดพักอาศัยที่มีผลต่อการใช้สอยของผู้พักอาศัยในอาคารชุดระดับราคาปานกลาง บริเวณเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล กรณีศึกษา : โครงการ ลุมพินี วิลล์ พหล-สุทธิสาร โครงการลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่ และโครงการลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง ของ บริษัท แอล.พี.เอ็น |
184 |
การติดตามผลการดำเนินงานโครงการแบ่งปันที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ : กรณีศึกษา โครงการพัฒนาชุมชนสามยอด เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
185 |
พฤติกรรมและสภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุในอาคารชุดที่ออกแบบเพื่อผู้สูงอายุ กรณีศึกษา สวางคนิเวศ จ.สมุทรปราการ |
186 |
แนวทางการปรับปรุงภูมิทัศน์ศูนย์ราชการจังหวัดขอนแก่นเพื่อสนับสนุนแนวคิดเมืองสีเขียว |
187 |
ระดับการเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
188 |
การเชื่อมโยงพื้นที่สีเขียวในศูนย์กลางเมือง กรณีศึกษาเขตปทุมวัน |
189 |
ความปลอดภัยในการก่อสร้างอาคารกรณีศึกษา : อาคารขนาดใหญ่ที่ก่อสร้างในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
190 |
ลักษณะปัญหาการกองครุภัณฑ์รอการกำจัดในอาคารราชการ : กรณีศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
191 |
การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาพและการใช้งานภายในอาคารโรงพยาบาลระหว่างเปิดใช้งาน : กรณีศึกษา โรงพยาบาลเอกชน |
192 |
การศึกษารูปแบบการจัดที่นั่งกับการออกจากอาคารโรงภาพยนตร์ขนาดกลางในสถานการณ์ปกติโดยใช้วิธีการจำลองสถานการณ์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ |
193 |
การปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมของสำนักงานสถาปนิก กรณีศึกษาสำนักงานสถาปนิกในจังหวัดภูเก็ต |
194 |
การศึกษาหลักเกณฑ์การแบ่งงวดงานก่อสร้างอาคารภาครัฐ |
195 |
การเปลี่ยนแปลงการใช้พื้นที่โล่งว่างภายในวัดริมน้ำ เพื่อรองรับกิจกรรมงานประเพณีประชุมชน กรณีศึกษาวัดกระโดงทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
196 |
การติดตามผลการดำเนินงานโครงการแบ่งปันที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์: กรณีศึกษา โครงการพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร |
197 |
การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยของครัวเรือนพนักงานรัฐวิสาหกิจ:กรณีศึกษา พนักงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยสาขาสำนักงานใหญ่ |
198 |
กระบวนการการลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ของนักลงทุนในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ |
199 |
เหตุผลการฝากขายบ้านและรูปแบบบ้านใหม่ของผู้อยู่อาศัยบ้านเดี่ยว: กรณีศึกษาผู้ฝากขายบ้านมือสองผ่านบริษัท บี.ซี.พี. เฮ้าส์ซิ่ง จำกัด |
200 |
การขายบ้านมือสองผ่านนายหน้าโดยการทำสัญญาแบบนายหน้าแต่เพียงผู้เดียว และการทำสัญญาแบบนายหน้าเปิด: กรณีศึกษา บริษัท มาสเตอร์โฮมพร็อพเพอร์ตี้ จำกัด |
201 |
ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกที่พักอาศัยของชาวญี่ปุ่นที่ได้รับอนุญาตทำงานในจังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดชลบุรี |
202 |
การออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อทุกคน สำหรับศูนย์การค้าชุมชน |
203 |
ขั้นตอนในการลงทุนพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทญี่ปุ่นและบริษัทสิงคโปร์ในประเทศไทย: กรณีศึกษา บริษัท โคโตบูกิ พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด และ บริษัท ลากูน่า รีสอร์ท แอนด์ โฮเท็ล จำกัด (มหาชน) |
204 |
ประโยชน์เชิงธุรกิจในการพัฒนาอาคารสำนักงานที่เป็นอาคารเขียว |
205 |
พฤติกรรมการต่อเติมพื้นที่ใช้สอยบ้านเดี่ยวระดับราคา 5-8 ล้านบาท : กรณีศึกษา โครงการฮาบิเทีย ปัญญาอินทรา เฟส 2 |
206 |
สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อมในโครงการที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุ |
207 |
การออกแบบพื้นที่อยู่อาศัยสำหรับทาวน์เฮ้าส์ระดับราคาปานกลาง: กรณีศึกษา โครงการพฤกษาวิลล์ 53 บริษัทพฤกษา เรียลเอสเตท จำกัด(มหาชน) |
208 |
การเปลี่ยนแปลงการใช้พื้นที่ ของผู้อยู่อาศัย ในบ้านสั่งสร้าง กรณีศึกษา บริษัท เอสซีจี-เซกิซุย เซลส์ จำกัด |
209 |
การใช้หลักวิศวกรรมคุณค่าในการบริหารโครงการ ประเภทอาคารพักอาศัย |
210 |
ลักษณะและการใช้ห้องเรียนปฏิบัติการ สตูดิโอ ด้านศิลปะ และการออกแบบในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
211 |
นโยบายและบทบาทองค์กรภาครัฐในการพัฒนาที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อยในอาเซียน: กรณีศึกษากลุ่มประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียน |
212 |
บทบาทองค์กรพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทย: กรณีศึกษา มูลนิธิที่อยู่อาศัยประเทศไทย |
213 |
การตรวจสอบแนวทางการประยุกต์ใช้วิธีการจัดระดับขั้นความละเอียดของข้อมูลสำหรับแบบจำลองสารสนเทศอาคารของสถาบันสถาปนิกอเมริกัน กับวิธีการหาปริมาณงานสถาปัตยกรรมในอุตสาหกรรมการก่อสร้างของไทย |
214 |
ประสิทธิภาพการทำความเย็นโดยการแผ่รังสีในตอนกลางคืนด้วยฝ้าเพดานแบบพลิกหมุน |
215 |
สมรรถนะด้านพลังงานของหลังคาแผ่รังสีความร้อนสูง ชนิดมวลเบา |
216 |
ลักษณะทางกายภาพของโรงแรมขนาดเล็ก ประเภทบูติกโฮเตล ในกรุงเทพมหานคร |
217 |
สมรรถนะด้านความร้อนของอาคารที่ติดตั้งช่องระบายอากาศ ใต้หลังคาแผ่รังสีความร้อนสูงและการใช้ปล่องระบายความร้อน |
218 |
ค่าใช้จ่ายในการบริหารทรัพยากรกายภาพ อาคารในกลุ่มสำนักงานใหญ่: กรณีศึกษา บรรษัทขนาดใหญ่ 6 แห่ง |
219 |
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานจัดการนิติบุคคลอาคารชุดพักอาศัยราคาสูงและต่ำ ในกรุงเทพมหานคร |
220 |
สมรรถนะด้านพลังงานของหลังคาที่ติดตั้งมวลอุณหภาพและฉนวนชนิดเปิดปิดได้ |
221 |
การบริหารการก่อสร้างส่วนต่อขยายอาคารโรงพยาบาลเอกชน |
222 |
การศึกษาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนรวมและความเป็นไปได้ทางการเงินของหลังคาเขียว โดยวิธีการระเหยของน้ำ |
223 |
รูปแบบสถาบันเพื่อการจัดการน้ำชุมชนกรณีศึกษาลุ่มน้ำขาน จังหวัดเชียงใหม่ |
224 |
ปัจจัยในการออกแบบช่องแสงและแผ่นสะท้อนแสงสำหรับอาคารกีฬาในร่ม |
225 |
ปัจจัยเชิงที่ตั้งและการบริหารจัดการที่มีผลต่ออัตราค่าโดยสารของจักรยานยนต์รับจ้างบนเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส |
226 |
พฤติกรรมการใช้จักรยานในเขตเมืองชั้นใน เขตต่อเมือง และเขตชานเมืองพื้นที่กรุงเทพมหานคร |
227 |
ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากโครงการเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีที่มีต่อชุมชนและพื้นที่โดยรอบ |
228 |
อิทธิพลของสีในสภาพแวดล้อมกับความรู้สึกไม่สบายตา |
229 |
ความแม่นยำในการถอดแบบประมาณปริมาณวัสดุก่อสร้างในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ โดยวิธีทั่วไปและวิธีที่ใช้แบบจำลองสารสนเทศอาคาร : กรณีศึกษาอาคารชุดพักอาศัยประเภท A1 บริษัทแอลพีเอ็น ดีเวลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) |
230 |
ผลของการเปิดเสรีการค้าอาเซียนกับการเข้ามาปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมหลักของสถาปนิกสิงคโปร์ในประเทศไทย |
231 |
การจัดการด้านกายภาพวัด : กรณีศึกษาวัดพระธรรมกาย |
232 |
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของเมืองปาย จังหวัดแมํฮํองสอน |
233 |
การเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน์วัฒนธรรมเมืองประวัติศาสตร์เพชรบุรี |
234 |
การจัดการทรัพยากรกายภาพอาคารสำนักงาน ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร |
235 |
ประสิทธิภาพของร่มเงาต้นไม้ที่มีผลต่อผนังอาคารพักอาศัย |
236 |
การลดเวลาและค่าใช้จ่ายการบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ ด้วยการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน |
237 |
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง ในประเทศกัมพูชา |
238 |
ถนนคนเดินสำหรับพาณิชยกรรมชุมชน : การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างถนนราชดำเนินและถนนวัวลาย จังหวัดเชียงใหม่ |
239 |
การก่อสร้างด้วยระบบชิ้นส่วนสาเร็จรูป กรณีศึกษา : ทาวน์เฮาส์สองชั้นของบริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จากัด (มหาชน) |
240 |
การบริหารทรัพยากรกายภาพสาหรับอาคารอยู่อาศัยรวม |
241 |
แนวทางการปรับปรุงบ้านมือสอง กรณีศึกษา บ้านเดี่ยวราคา 1-3 ล้านบาท ในเขตกรุงเทพและปริมณฑลตอนเหนือและตะวันออก |
242 |
ระบบการก่อสร้างสาเร็จรูปทาวน์เฮาส์ 3 ชั้น กรณีศึกษา : บริษัท โพสแอนด์พรีคาส จากัด |
ปี พ.ศ. 2555 |
243 |
การศึกษาศักยภาพทางการตลาดของห้องชุดสองชั้น |
244 |
การกำหนดพื้นที่กันชนระหว่างเขตอุตสาหกรรมกับชุมชน กรณีศึกษาเขตอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง |
245 |
การศึกษาศักยภาพทางการตลาดของห้องชุดสองชั้น |
246 |
แนวทางการปรับปรุงอาคารในการจัดสิ่งอำนวยความสะดวก สำหรับผู้พิการและผู้สูงอายุ กรณีศึกษาโรงแรมในเขตกรุงเทพฯ |
247 |
ปัจจัยในการพัฒนาศูนย์การค้าชุมชนในรูปแบบฮาลาล |
248 |
การดำเนินงานดูแลบำรุงรักษาระบบประกอบอาคารประเภทอาคารศูนย์การค้า : กรณีศึกษา 4 อาคาร |
249 |
องค์ประกอบภูมิทัศน์ประวัติศาสตร์ เพื่อการอนุรักษ์เมืองเก่า จังหวัดเชียงใหม่ |
250 |
แนวทางการพัฒนาอาคารเก่าแก่ในย่านพาณิชยกรรม : กรณีศึกษา เวิ้งนาครเขษม |
251 |
ความสัมพันธ์ของการตรวจสอบสภาพอาคารกับการประเมินมูลค่าอาคาร : กรณีศึกษา อาคารสูง |
252 |
การดูแลอาคารสำนักงานให้เช่าที่มีผู้เช่ารายเดียวกับผู้เช่าหลายราย โดยมีเจ้าของร่วมกัน : กรณีศึกษา อาคารกลาสเฮ้าส รัชดา และอาคารกลาสเฮ้าส สุขุมวิท |
253 |
การติดตามผลการดำเนินงานโครงการฟื้นฟูเมืองชุมชนดินแดง กรุงเทพมหานคร |
254 |
สภาวะน่าสบาย และการปรับตัวของคนพื้นถิ่นใน ประเทศลาว : กรณีศึกษาเรือนพื้นถิ่นแขวงหลวงพระบาง และแขวงสะหวันนะเขต |
255 |
ประสิทธิภาพของการใช้ปล่องระบายอากาศแสงอาทิตย์กับหลังคากระเบื้องลอนคู่ เพื่อการลดอุณหภูมิภายในอาคารพักอาศัย ในประเทศไทย |
256 |
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยแบบโคเฮาส์ซิ่ง : กรณีศึกษาโครงการบ้านเดียวกัน |
257 |
การจัดการด้านที่อยู่อาศัยในภาวะอุทกภัย : กรณีศึกษาโครงการบ้าน มั่นคง ชุมชนเจริญพัฒนา หมู่ 2 และชุมชนบ้านคลองรังสิต หมู่ 6 ตำบลบางพูน อำเภอ เมือง จังหวัดปทุมธานี |
258 |
การพัฒนาค่าความแตกต่างอุณหภูมิเทียบเท่าสำหรับการคำนวณค่าการส่งผ่านความร้อนผ่านเปลือกอาคารชุดพักอาศัย |
259 |
การวางแผนของผู้เช่าอพาร์ทเมนท์ในการเลือกเป็นเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ : กรณีศึกษา พื้นที่เขตห้วยขวาง |
260 |
การออกแบบการใช้แสงสว่างธรรมชาติในพิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง ประเทศลาว |
261 |
ที่จอดรถในย่านศูนย์กลางธุรกิจของเมืองเก่า : กรณีศึกษาย่านถนนเยาวราช กรุงเทพมหานคร |
262 |
แนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพในการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติในห้องพักของอาคารชุดพักอาศัยขนาดกลาง |
263 |
การปรับปรุงงานระบบอาคารในระหว่างที่มีการใช้งาน : กรณีศึกษาอาคารวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
264 |
การบริหารจัดการโครงการทาวน์เฮ้าส์ราคาประหยัดที่มีราคาขายต่ำกว่า 1.5 ล้านบาทต่อหน่วย : กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดปทุมธานีในช่วงปลายปี พ.ศ. 2554 |
265 |
การประเมินการอยู่อาศัยของบ้านพักถาวรสำหรับผู้ประสบภัยน้ำท่วมภาคใต้ ปี พ.ศ. 2554 : กรณีศึกษาโครงการบ้านพักถาวรจังหวัดกระบี่ |
266 |
การดำเนินงานและประสิทธิภาพการดูแลความสะอาด อาคารการศึกษา : กรณีศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
267 |
การบริหารจัดการที่ดินอย่างมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติ : กรณีศึกษาตำบลศิลาแลง อำเภอปัว จังหวัดน่าน |
268 |
ปัจจัยการพัฒนาอาคารสร้างค้าง ประเภทอาคารชุดพักอาศัยขนาดใหญ่ : กรณีศึกษา โครงการ แอ็บสแตร็กส์ พหลโยธิน พาร์ค, กรุงเทพมหานคร |
269 |
การบริหารจัดการเพื่อเตรียมการป้องกันอุทกภัยของโครงการหมู่บ้านจัดสรร ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
270 |
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงกายภาพและคุณค่าของวัด กรณีศึกษาวัดชนะสงคราม |
271 |
การจัดการที่อยู่อาศัยในภาวะอุทกภัยกรณีศึกษา : โครงการเคหะชุมชนอยุธยา 1 และโครงการหมู่บ้านจัดสรรหันตราวิลล่า ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
272 |
พฤติกรรมการใช้งานสิ่งอำนวยความสะดวกของผู้อยู่อาศัยในอาคารชุดพักอาศัย ระดับราคาปานกลาง ตามแนวรถไฟฟ้าใต้ดิน สายรัชดาภิเษก : กรณีศึกษา โครงการ ลุมพินี เพลส พระราม 9 |
273 |
องค์ประกอบของภูมิทัศน์ทางด้านกายภาพกับการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สาธารณะ : กรุงเทพมหานคร |
274 |
พฤติกรรมการเดินทางไปทำงานของคนจนเมือง : กรณีศึกษาชุมชนรายได้น้อยตามแนวรถไฟสายเหนือในกรุงเทพมหานคร |
275 |
โครงสร้างภูมินิเวศ กับ บทบาทของป่าชุมชน และการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ ในด้านการบริการเชิงนิเวศของพื้นที่ กรณีศึกษา : ป่าชุมชน ตำบลสงเปือย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร |
276 |
ความเป็นไปได้ในการนำมาตรฐานลีด 2009 สำหรับพัฒนาชุมชนละแวกบ้านมาใช้สำหรับโครงการจัดสรรขนาดกลางประเภทบ้านเดี่ยวในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
277 |
การเชื่อมโยงมุมมองทางสายตาในการออกแบบภูมิทัศน์เมืองชายทะเล กรณีศึกษา เมืองพัทยา |
278 |
การกลายเป็นเมืองกับการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างภูมินิเวศและการบริการเชิงนิเวศของภูมิทัศน์ กรณีศึกษา อ.เมือง จำหวัดลำปาง |
279 |
นวัตกรรมแนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมของอาคารประเภทโรงแรมและรีสอร์ทเพื่อลดความเสียหายจากภัยพิบัติสึนามิ กรณีศึกษา : พื้นที่เขาหลัก จังหวัดพังงา |
280 |
การปรับตัวด้านที่อยู่อาศัยในชุมชนพื้นถิ่นที่มีน้ำท่วมซ้ำซาก : กรณีศึกษาบ้านนนทรีย์ ตำบลพุทเลา อำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
281 |
เงื่อนไขเชิงพื้นที่เพื่อการดำรงอยู่ของชุมชนบริเวณเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา |
282 |
กระบวนการเกิดและการเปลี่ยนแปลงของตลาดชุมชนริมน้ำบริเวณลุ่มน้ำท่าจีน |
283 |
ผลกระทบขององค์ประกอบทางการออกแบบแสงประดิษฐ์ที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้ใช้อาคาร : กรณีศึกษาโถงต้อนรับของโรงแรม |
284 |
ผลกระทบของรูปทรงและการวางทิศทางอาคารสำนักงานต่อประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานตามมาตรฐาน ASHRAE 90.1 2007 |
285 |
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพวัสดุหลังคาที่มีสัมประสิทธิ์การแผ่รังสีต่ำและฉนวนกันความร้อนทั่วไป |
286 |
การใช้ไม้เทียมในงานออกแบบสถาปัตยกรรม |
287 |
แนวทางการปรับปรุงข้อกำหนดโครงการ (TOR : Term of Reference) ของผู้ควบคุมงานก่อสร้าง : กรณีศึกษา โครงการก่อสร้างอาคารเพื่อการศึกษา สถาบันอุดมศึกษาของภาครัฐ |
288 |
กระบวนการก่อสร้างด้วยชิ้นส่วนสำเร็จรูปของอาคารประเภทบ้านเดี่ยว กรณีศึกษา : บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จำกัด (มหาชน) |
289 |
การศึกษาสัณฐานกระบวนการเปลี่ยนแปลงลักษณะพื้นที่ริมน้ำ คลองบางลำพู |
290 |
แนวคิดในการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมอั่งหม่อหลาวในภูเก็ต |
291 |
ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานของสารเคลือบกระจกกันความร้อนของอาคารในเขตสภาพอากาศแบบร้อนชื้น |
292 |
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพด้านความร้อนของผนังไม้จริงตัดขวาง |
293 |
บทบาทขององค์กรชุมชนในกระบวนการมีส่วนร่วมในโครงการบ้านมั่นคงในกรุงเทพมหานคร |
294 |
การออกแบบไฟส่องสว่างเพื่อความปลอดภัย กรณีศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
295 |
การประเมินความสบายตาและความชัดเจนในการมองเห็นของแผงบังแดดฉลุลาย |
296 |
การประเมินการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ กรณีศึกษา เทศบาลตำบลยางฮอม จังหวัดเชียงราย และเทศบาลตำบลหนองตองพัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ |
297 |
แนวทางการปรับปรุงสภาพที่อยู่อาศัยและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยเพื่อคนพิการ จังหวัดนนทบุรี |
298 |
เปรียบเทียบกระบวนการปรับปรุงและลักษณะที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ ระหว่างจังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดปทุมธานี |
299 |
รายละเอียดของแบบแผนผังประกอบการขออนุญาตจัดสรรที่ดินในกรุงเทพมหานคร |
300 |
การปรับตัวของโครงการอสังหาริมทรัพย์แนวราบ ภายหลังเหตุการณ์อุทกภัยปี พ.ศ. 2554 : กรณีศึกษา โครงการเพอร์เฟค พาร์ค บางบัวทอง และโครงการเดอะ ลีฟวิ่ง บ้านกล้วย – ไทรน้อย |
301 |
โครงสร้างภูมินิเวศกับบทบาทภูมิทัศน์ป่าบุ่งป่าทามและ การใช้ประโยชน์ของมนุษย์ในด้านการบริการเชิงนิเวศของพื้นที่ กรณีศึกษา ลุ่มน้ำสงครามตอนล่าง อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม |
302 |
ผลกระทบลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยหลังน้ำท่วม : กรณีศีกษาลูกค้าสินเชื่อที่อยู่อาศัยธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) |
303 |
สภาพการอยู่อาศัยและการปรับปรุงที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย จังหวัดสระบุรี |
304 |
พฤติกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการคอมมูนิตี้ มอลล์ : กรณีศึกษา บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด |
305 |
แนวทางการบริหารโครงการปรับปรุงอาคารอนุรักษ์ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ : กรณีศึกษา 5 โครงการ ในช่วงปี พ.ศ. 2548-พ.ศ. 2556 |
306 |
ความเชื่อมโยงระหว่างอาชีพกับแหล่งที่อยู่อาศัยในชุมชนบนพื้นที่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ : กรณีศึกษา ชุมชนรุ่งมณีพัฒนา เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร |
307 |
แนวทางการปรับปรุงโรงแรมเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวมุสลิม : กรณีศึกษา โรงแรมในเขตกรุงเทพมหานคร |
308 |
แนวทางการปรับปรุงสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ กลุ่มอาคารราชดำเนิน : กรณีศึกษา อาคารนิทรรศน์รัตนโกสินทร์ |
309 |
แนวทางการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บริเวณท่าเตียน กรุงเทพมหานคร |
310 |
ช่องทางการจำหน่ายใน “งานมหกรรมบ้านและคอนโดฯ” : กรณีศึกษาผู้ประกอบการโครงการอาคารชุดรายกลาง-รายเล็ก |
311 |
การลงทุนธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ในสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามของนักลงทุนไทยเมื่อเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
312 |
การศึกษาผลกระทบและการปรับตัวสำหรับอสังหาริมทรัพย์ ประเภทอาคารชุด ภายหลังเหตุอุทกภัย ปี พ.ศ.2554 : กรณี ศึกษาพื้นที่กรุงเทพมหานคร ถนนลาดพร้าวและถนนปิ่นเกล้า-รัชดา |
313 |
กระบวนการพัฒนาโครงการ บูติค แคมป์ปิ้ง รีสอร์ท : กรณีศึกษา คีรีมายา กอล์ฟ รีสอร์ท แอนด์ สปา และ ฟาร์มโชคชัย บูติค แคมป์ จังหวัดนครราชสีมา |
314 |
แนวทางการออกแบบเพื่อความโดดเด่นของป้ายไฟร้านค้า : กรณีศึกษา ถนนเยาวราช |
315 |
อิทธิพลของ อายุ และเพศ ที่มีผลต่อความพึงพอใจ ในระดับความส่องสว่างและอุณหภูมิสีของแสงสำหรับกิจกรรมในชีวิตประจำวัน |
316 |
ความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาศิลปกรรม ชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ |
317 |
ปัจจัยของผู้ประกอบการที่ส่งผลต่อการวางผังโครงการหมู่บ้านจัดสรร ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล : กรณีศึกษา โครงการหมู่บ้านจัดสรรของบริษัท สัมมากร จำกัด (มหาชน) |
318 |
ทัศนคติของผู้สนใจบ้าน SCG HEIM |
319 |
ผลกระทบจากการกำหนดค่าการใช้พลังงานรวมของอาคารตามกฎหมายที่มีต่อการออกแบบคอนโดมิเนียม |
320 |
การขออนุญาตอาคารประเภทโรงแรมภายใต้กฎหมายไทย กรณีศึกษา อาคารขนาดใหญ่ |
321 |
การขออนุญาตอาคารประเภทโรงแรมภายใต้กฎหมายไทย กรณีอาคารที่มีขนาดต่ำกว่าอาคารขนาดใหญ่ ตามกฎหมายควบคุมอาคาร |
322 |
แนวทางการออกแบบบ้านในชุมชนแออัดในเขตเมือง(บ้านมั่นคง)ให้อยู่ในสภาวะน่าสบาย |
323 |
ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมของชุมชนริมน้ำคลองแควอ้อม จังหวัดสมุทรสงคราม |
324 |
ผลกระทบของการตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศต่อการใช้พลังงานการทำความเย็น ในอาคารที่มีการติดตั้งฉนวนชนิดต่างๆ |
325 |
อิทธิพลของภูมิอากาศในภูมิภาคต่างๆของประเทศไทยต่อการใช้พลังงานในอาคาร |
326 |
แนวทางการพัฒนาโปรแกรมเสริมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม:การบังลม |
327 |
แนวทางการพัฒนาโปรแกรมเสริมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม : การบดบังแดด |
328 |
การวิเคราะห์การปล่อยคาร์บอนจากขั้นตอนการรื้อถอนอาคารและการทำลายอาคาร |
329 |
การเปรียบเทียบความคิดของ ประติมากร ภูมิสถาปนิก และ ผู้ได้รับประโยชน์ ต่อการใช้ประติมากรรมลอยตัวเป็นองค์ประกอบพื้นที่สาธารณะในเมือง |
330 |
การย้ายชุมชนที่อยู่อาศัยที่ได้รับผลกระทบจากมลภาวะทางอากาศจากแหล่งนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง |
331 |
ผลกระทบของอุทกภัยต่อพื้นที่ปลูกสร้างและโครงสร้างพื้นฐานในเขตเมืองแพร่ |
332 |
ซอย : พื้นที่ว่างสาธารณะสำหรับคนเดินเท้าในพื้นที่ธุรกิจศูนย์กลางเมือง กรุงเทพมหานคร |
333 |
ผลกระทบของอุทกภัยต่อพื้นที่ปลูกสร้างและโครงสร้างพื้นฐานในเขตเมืองน่าน |
334 |
ภูมิทัศน์วัฒนธรรมชุมชนลัวะ อ.บ่อเกลือ จ.น่าน : ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับภูมิสถาปัตยกรรม |
335 |
การก่อสร้างโครงสร้างรับพื้นจากท่อกระดาษ |
336 |
การปรับตัวด้านที่อยู่อาศัยในชุมชนพื้นถิ่นที่มีน้ำท่วมซ้ำซาก : กรณีศึกษาบ้านนนทรีย์ ตำบลพุทเลา อำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
337 |
นวัตกรรมแนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมของอาคารประเภทโรงแรมและรีสอร์ทเพื่อลดความเสียหายจากภัยพิบัติสึนามิ กรณีศึกษา : พื้นที่เขาหลัก จังหวัดพังงา |
338 |
องค์ประกอบของภูมิทัศน์ทางด้านกายภาพกับการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สาธารณะ : กรุงเทพมหานคร |
339 |
ลักษณะทางภูมินิเวศและพลวัตของที่ราบน้ำท่วมถึงกับการตอบสนองของมนุษย์ กรณีศึกษาแม่น้ำน่าน อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ |
340 |
พฤติกรรมการใช้งานสิ่งอำนวยความสะดวกของผู้อยู่อาศัยในอาคารชุดพักอาศัย ระดับราคาปานกลาง ตามแนวรถไฟฟ้าใต้ดิน สายรัชดาภิเษก : กรณีศึกษา โครงการ ลุมพินี เพลส พระราม 9 |
341 |
การจัดการที่อยู่อาศัยในภาวะอุทกภัยกรณีศึกษา : โครงการเคหะชุมชนอยุธยา 1 และโครงการหมู่บ้านจัดสรรหันตราวิลล่า ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
342 |
โครงสร้างภูมินิเวศ กับ บทบาทของป่าชุมชน และการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ ในด้านการบริการเชิงนิเวศของพื้นที่ กรณีศึกษา : ป่าชุมชน ตำบลสงเปือย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร |
343 |
การบริหารจัดการที่ดินอย่างมีส่วนร่วมของชุมชนในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติ : กรณีศึกษาตำบลศิลาแลง อำเภอปัว จังหวัดน่าน |
344 |
การเชื่อมโยงมุมมองทางสายตาในการออกแบบภูมิทัศน์เมืองชายทะเล กรณีศึกษา เมืองพัทยา |
345 |
การบริหารจัดการเพื่อเตรียมการป้องกันอุทกภัยของโครงการหมู่บ้านจัดสรร ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
346 |
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงกายภาพและคุณค่าของวัด กรณีศึกษาวัดชนะสงคราม |
347 |
การกลายเป็นเมืองกับการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างภูมินิเวศและการบริการเชิงนิเวศของภูมิทัศน์ กรณีศึกษา อ.เมือง จำหวัดลำปาง |
348 |
พฤติกรรมการเดินทางไปทำงานของคนจนเมือง : กรณีศึกษาชุมชนรายได้น้อยตามแนวรถไฟสายเหนือในกรุงเทพมหานคร |
349 |
ปัจจัยการพัฒนาอาคารสร้างค้าง ประเภทอาคารชุดพักอาศัยขนาดใหญ่ : กรณีศึกษา โครงการ แอ็บสแตร็กส์ พหลโยธิน พาร์ค, กรุงเทพมหานคร |
350 |
การดำเนินงานและประสิทธิภาพการดูแลความสะอาด อาคารการศึกษา : กรณีศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
351 |
การบริหารจัดการโครงการทาวน์เฮ้าส์ราคาประหยัดที่มีราคาขายต่ำกว่า 1.5 ล้านบาทต่อหน่วย : กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดปทุมธานีในช่วงปลายปี พ.ศ. 2554 |
352 |
แนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพในการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติในห้องพักของอาคารชุดพักอาศัยขนาดกลาง |
353 |
การปรับปรุงงานระบบอาคารในระหว่างที่มีการใช้งาน : กรณีศึกษาอาคารวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
354 |
การออกแบบการใช้แสงสว่างธรรมชาติในพิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง ประเทศลาว |
355 |
การพัฒนาค่าความแตกต่างอุณหภูมิเทียบเท่าสำหรับการคำนวณค่าการส่งผ่านความร้อนผ่านเปลือกอาคารชุดพักอาศัย |
356 |
การวางแผนของผู้เช่าอพาร์ทเมนท์ในการเลือกเป็นเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ : กรณีศึกษา พื้นที่เขตห้วยขวาง |
357 |
การจัดการที่อยู่อาศัยในภาวะอุทกภัย : กรณีศึกษา โครงการบ้านเอื้ออาทรลาดหลุมแก้ว 1 อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี |
358 |
การดำเนินงานดูแลบำรุงรักษาระบบประกอบอาคารประเภทอาคารศูนย์การค้า : กรณีศึกษา 4 อาคาร |
359 |
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยแบบโคเฮาส์ซิ่ง : กรณีศึกษาโครงการบ้านเดียวกัน |
360 |
การจัดการด้านที่อยู่อาศัยในภาวะอุทกภัย : กรณีศึกษาโครงการบ้าน มั่นคง ชุมชนเจริญพัฒนา หมู่ 2 และชุมชนบ้านคลองรังสิต หมู่ 6 ตำบลบางพูน อำเภอ เมือง จังหวัดปทุมธานี |
361 |
สภาวะน่าสบาย และการปรับตัวของคนพื้นถิ่นใน ประเทศลาว : กรณีศึกษาเรือนพื้นถิ่นแขวงหลวงพระบาง และแขวงสะหวันนะเขต |
362 |
ประสิทธิภาพของการใช้ปล่องระบายอากาศแสงอาทิตย์กับหลังคากระเบื้องลอนคู่ เพื่อการลดอุณหภูมิภายในอาคารพักอาศัย ในประเทศไทย |
363 |
ความสัมพันธ์ของการตรวจสอบสภาพอาคารกับการประเมินมูลค่าอาคาร : กรณีศึกษา อาคารสูง |
364 |
การดูแลอาคารสำนักงานให้เช่าที่มีผู้เช่ารายเดียวกับผู้เช่าหลายราย โดยมีเจ้าของร่วมกัน กรณีศึกษา อาคารกลาสเฮ้าส รัชดาและสุขุมวิท |
365 |
การติดตามผลการดำเนินงานโครงการฟื้นฟูเมืองชุมชนดินแดง |
366 |
องค์ประกอบภูมิทัศน์ประวัติศาสตร์ เพื่อการอนุรักษ์เมืองเก่า จังหวัดเชียงใหม่ |
367 |
แนวทางการพัฒนาอาคารเก่าแก่ในย่านพาณิชยกรรม : กรณีศึกษา เวิ้งนาครเขษม |
368 |
แนวทางการปรับปรุงอาคารในการจัดสิ่งอำนวยความสะดวก สำหรับผู้พิการและผู้สูงอายุ กรณีศึกษาโรงแรมในเขตกรุงเทพฯ |
369 |
ปัจจัยในการพัฒนาศูนย์การค้าชุมชนในรูปแบบฮาลาล |
370 |
ที่จอดรถในย่านศูนย์กลางธุรกิจของเมืองเก่า: กรณีศึกษาย่านถนนเยาวราช กรุงเทพมหานคร |
371 |
การกำหนดพื้นที่กันชนระหว่างเขตอุตสาหกรรมกับชุมชน กรณีศึกษาเขตอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง |
372 |
ความเป็นไปได้ในการนำมาตรฐานลีด 2009 สำหรับพัฒนาชุมชนละแวกบ้านมาใช้สำหรับโครงการจัดสรรขนาดกลางประเภทบ้านเดี่ยวในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
373 |
การประเมินการอยู่อาศัยของบ้านพักถาวรสำหรับผู้ประสบภัยน้ำท่วมภาคใต้ ปี พ.ศ. 2554 : กรณีศึกษาโครงการบ้านพักถาวรจังหวัดกระบี่ |
374 |
พลิกโฉมแกนความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมอย่างยั่งยืน |
ปี พ.ศ. 2554 |
375 |
ผลกระทบของการลงทุนภาครัฐเพื่อการพัฒนาเมืองศูนย์กลางความเจริญต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจเมืองขอนแก่น |
376 |
แนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : ชุมชนตลาดล่าง ในเขตเมืองเก่าลพบุรี |
377 |
การปรับปรุงภูมิทัศน์เส้นทางการท่องเที่ยว กราบพระ 9 วัด เทศบาลนครอุบลราชธานี |
378 |
การบริหารจัดการพื้นที่เมืองเก่าเวียงกุมกามโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน |
379 |
อิทธิพลของสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพมหานคร (จตุจักร) ที่มีต่อชุมชนและบริเวณพื้นที่โดยรอบ |
380 |
การพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมกีฬาในชุมชนเมือง กรณีศึกษา การพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมกีฬาในชุมชนเมือง กรณีศึกษาชุมชนใต้จุดตัดทางด่วนศรีรัชและทางด่วนเฉลิมมหานคร |
381 |
ปัจจัยเชิงพื้นที่ที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลอย่างยั่งยืนในจังหวัดฉะเชิงเทรา |
382 |
แนวคิดในการอนุรักษ์และพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : ชุมชนตลาดล่าง ในเขตเมืองเก่าลพบุรี |
383 |
การปรับปรุงภูมิทัศน์เส้นทางการท่องเที่ยว กราบพระ 9 วัด เทศบาลนครอุบลราชธานี |
384 |
ผลกระทบของการลงทุนภาครัฐเพื่อการพัฒนาเมืองศูนย์กลางความเจริญต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจเมืองขอนแก่น |
385 |
ความต้องการที่พักอาศัย โครงการพัฒนาที่ดินบริเวณจุฬาซอย 9 (หมอน 41) ของนิสิตและบุคลากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
386 |
การปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยกับการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ : กรณีศึกษา ตำบลท่างาม อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี |
387 |
สะพานในกรุงเทพฯ สมัยรัชกาลที่ 5 |
388 |
แนวทางการจัดเตรียมที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุในเมือง : กรณีศึกษา ชมรมผู้สูงอายุในสวนสาธารณะลุมพินี กรุงเทพมหานคร |
ปี พ.ศ. 2553 |
389 |
การพัฒนาโครงข่ายทางจักรยานในเทศบาลนครตรัง |
390 |
ผลกระทบต่อเมืองของโรงเรียนที่มีชื่อเสียงในเขตชั้นในของกรุงเทพมหานคร |
391 |
แนวทางการออกแบบชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม: กรณีศึกษา ชุมชนบ้านสาขลา จังหวัดสมุทรปราการ |
392 |
ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานของอุปกรณ์กันแดดแบบผนัง 2 ชั้น: กรณีศึกษาอาคารพักอาศัยในกรุงเทพมหานคร |
393 |
การจัดเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยในอาคารประเภทศูนย์การค้า เขตปทุมวัน กรณีศึกษา 3 อาคาร |
394 |
การศึกษาผลกระทบการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมผิวดิน ที่ส่งผลต่อระบบอุทกนิเวศ กรณีศึกษา บ้านแม่แอน ต.ห้วยทราย อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ |
395 |
การจัดการโรงอาหารเพื่อการสวัสดิการ กรณีศึกษาโรงอาหารจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
396 |
โครงร่างกฎหมาย พรบ. ควบคุมอาคารด้านการอนุรักษ์พลังงานที่เหมาะสมกับอาคารในประเทศไทย |
397 |
ที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุชาวญี่ปุ่นที่พำนักระยะยาวในเชียงใหม่ |
398 |
จำนวนและสภาพการใช้ห้องน้ำและห้องส้วมในอาคารชุมนุมคนประเภทโรงมหรสพ |
399 |
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการซ่อมแซมที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษาชุมชนวัดธรรมนิมิต เทศบาลเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม |
400 |
ข้อควรพิจารณาในการออกแบบวางผังธุรกิจรีไซเคิลเอกชนในประเทศไทย |
401 |
การจัดการของเสียอินทรีย์สำหรับบ้านพักอาศัยโดยวิธีการบำบัดแบบไร้อากาศ |
402 |
การศึกษาการออกแบบทางกายภาพและจัดสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อปรับปรุงภายในห้องพักอาศัยสำหรับลูกค้าชาวญี่ปุ่น กรณีศึกษา : โครงการเซอร์วิสอพาร์ทเม้นท์ในพื้นที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี |
403 |
การบริหารจัดการอาคารชุดพักอาศัยของการเคหะแห่งชาติ : กรณีศึกษา อาคารชุดพักอาศัย เคหะชุมชนร่มเกล้าระยะ 3 |
404 |
ปัญหาการดูแลอาคารสำนักงาน : กรณีศึกษาอาคารอาร์ เอส ทาวเวอร์ |
405 |
สภาพการอยู่อาศัยในหมู่บ้านจัดสรร อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม : กรณีศึกษา โครงการหมู่บ้านแสนสุข |
406 |
การพัฒนาแนวทางการกำหนดตำแหน่งติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด |
407 |
การบริหารทรัพยากรกายภาพอาคารสำนักงานให้เช่าระดับ เอ : กรณีศึกษาอาคารสำนักงานให้เช่า จำนวน 15 อาคาร ในบริเวณศูนย์กลางเขตธุรกิจกรุงเทพมหานคร |
408 |
การแปลและอธิบายความหมายภูมิทัศน์ในเชิงอุทกนิเวศวิทยาจากแผนที่โบราณ : กรณีศึกษา ที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณอำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี |
409 |
การติดตามการดำเนินการแก้ปัญหาบ้านเอื้ออาทรของการเคหะแห่งชาติ ระหว่างปี 2546-2552 : กรณีศึกษา บ้านเอื้ออาทร มิตรไมตรี (หนองจอก) |
410 |
กระบวนการดำเนินงานปรับปรุงอาคารสำนักงานแบบมีการโยกย้าย กรณีศึกษา ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) อาคารสำนักพหลโยธิน |
ปี พ.ศ. 2552 |
411 |
ปัจจัยสำคัญในการออกแบบห้องนวดสปาเพื่อความผ่อนคลาย |
412 |
การสร้างสื่อประชาสัมพันธ์สำหรับบ้านพักอาศัยยุคใหม่ กรณ๊ศึกษาบ้านสู้โลกร้อน จังหวัดนครราชสีมา |
413 |
การสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อการประหยัดพลังงานของบ้านพักอาศัย กรณ๊ศึกษา บ้านพอเพียง มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ วิทยาเขตบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา |
414 |
การพัฒนาเทคนิคการก่อสร้างและระบบโครงสร้างบ้านพอเพียง |
415 |
การพัฒนาแหล่งพักอาศัยเพื่อการท่องเที่ยวด้านการพัฒนาจิตใจเชิงปฏิบัติธรรม : กรณีศึกษา ศูนย์ปฏิบัติธรรมตาณัง เลณัง เฉลิมราช 60 ปี และวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร |
416 |
อนัสติโลซิสเพื่อการบูรณะปราสาทสด๊กก๊อกธม |
417 |
การเปรียบเทียบกระบวนการก่อสร้างที่อยู่อาศัยบ้านเดี่ยว 2 ชั้น ระหว่างระบบดั้งเดิมกับระบบเสาและคานสำเร็จรูปและระบบผนังสำเร็จรูป : กรณีศึกษา โครงการเพอร์เฟคพาร์ค จังหวัดนนทบุรี |
418 |
แนวทางการออกแบบเพื่อการใช้ประโยชน์พื้นที่ว่างสาธารณะและกึ่งสาธารณะตามแนวถนน : กรณีศึกษาย่านอโศก-นานา ถนนสุขุมวิท |
419 |
บ้านพอเพียงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและประหยัดพลังงาน |
420 |
ปัจจัยในการตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยและสิ่งอำนวยความสะดวกที่ต้องการของพนักงานระดับปริญญาตรีขึ้นไป ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร และแปรรูปอาหารในอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร |
ปี พ.ศ. 2551 |
421 |
การบริหารทรัพยากรกายภาพของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กรณีศึกษาห้องน้ำภายในอาคารผู้โดยสาร |
422 |
รูปแบบที่อยู่อาศัยและการอยู่อาศัยในชุมชนคลองบางน้อยนอก ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม |
423 |
การปรับเปลี่ยนประโยชน์ใช้สอยกับการฟื้นฟูบูรณะย่านพาณิชกรรมเก่าและคลังสินค้าริมน้ำ : กรณีศึกษาย่านทรงวาด กรุงเทพมหานคร |
424 |
พลวัตเชิงพื้นที่และการฟื้นฟูบูรณะย่านพาณิชยกรรมเก่าริมน้ำ กรณีศึกษาย่านปากคลองตลาด กรุงเทพมหานคร |
425 |
การพัฒนาวัดเพื่อเป็นพื้นที่สีเขียวของเขตเมืองชั้นในกรุงเทพมหานคร |
426 |
แนวทางการจัดการประกวดแบบโครงการก่อสร้างของภาครัฐ |
427 |
การปรับปรุงระบบประกอบอาคารสำนักงานใหญ่ของธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) |
428 |
การออกแบบปรับปรุงอาคารเรียนชั่วคราวกึ่งสำเร็จรูปชั้นเดียว โครงสร้างเหล็กเบารับน้ำหนัก โครงการโรงเรียน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (SCG Southern School) |
429 |
แนวทางการพัฒนาที่ราชพัสดุซึ่งอยู่ในการครอบครองของกองทัพบก : กรณีศึกษากองพลทหารม้าที่ 2 รักษาพระองค์ |
430 |
ปัจจัยหลักที่มีผลกระทบต่อการจัดรูปแบบภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อกระตุ้นความรู้สึกอยากออกกำลังกาย |
431 |
แนวทางการปรับปรุงพื้นที่เปลี่ยนถ่ายการสัญจรอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ กรุงเทพมหานคร |
432 |
แนวทางการออกแบบเพื่อการพัฒนาพื้นที่จุดเปลี่ยนถ่ายการคมนาคมบริเวณแยกบางกะปิ |
433 |
แนวทางการออกแบบเพื่อพัฒนาทางเท้าในย่านพาณิชยกรรมอโศก กรุงเทพมหานคร |
434 |
การเปลี่ยนแปลงเชิงสัณฐานของพื้นที่ศูนย์กลางเมืองชลบุรี |
435 |
การติดตามผลการนำระบบการก่อสร้างสำเร์จรูปมาใช้ในโครงการบ้านจัดสรรประเภทบ้านเดี่ยว |
436 |
การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการบ้านเอื้ออาทรตามความร่วมมือระหว่างกรมธนารักษ์กับการเคหะแห่งชาติ : กรณีศึกษาบ้านเอื้ออาทรสำหรับข้าราชการและลูกจ้างกองทัพเรือ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี |
437 |
การบริหารทรัพยากรกายภาพของศาลยุติธรรม : กรณีศึกษา 10 อาคารศาลยุติธรรมในเขตกรุงเทพมหานคร |
ปี พ.ศ. 2550 |
438 |
การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยในเมืองใหม่บางพลี ในวาระที่ 1 จังหวัดสมุทรปราการ |
439 |
การวิเคราะห์สาระสำคัญของเทคโนโลยีเรือนไทยภาคกลาง |
440 |
การปรับปรุงซ่อมแซมบ้านผู้สูงอายุตามโครงการนวัตกรรมผู้สูงอายุ : กรณีศึกษา ผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อยในกรุงเทพมหานคร |
441 |
การประเมินสภาวะสบายตาจากค่าความส่องสว่างและอุณหภูมิสีจากโคมฟลูออเรสเซนต์ |
442 |
ความเชื่อมโยงระหว่างชนบทและเมืองในพื้นที่ขยายตัวของอภิมหานครกรุงเทพ ของอุตสาหกรรมขนาดเล็กในชนบท : กรณีศึกษาจังหวัดปทุมธานี |
443 |
แนวทางการประเมินมูลค่าที่ดิน เพื่อที่อยู่อาศัยสำหรับการจัดรูปแปลงที่ดินใหม่ : กรณีศึกษาโครงการนำร่องในเขตกรุงเทพมหานคร |
444 |
การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยอันเนื่องมาจากการฟื้นฟูชุมชนอัมพวา จ.สมุทรสงคราม |
445 |
โอกาสในการอนุรักษ์ฟื้นฟูที่อยู่อาศัยย่านเมืองเก่าสกลนคร |
446 |
การศึกษารูปแบบเมรุชั่วคราวสกุลช่างเพชรบุรี เพื่อทำการออกแบบเมรุชั่วคราวที่มีความเหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน |
447 |
ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของต้นไม้และการประยุกต์ใช้ภายนอกอาคารในเขตร้อนชื้น |
448 |
ความเชื่อมโยงของกิจกรรมทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมเครื่องหนังขนาดเล็กในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
449 |
การใช้พื้นที่ในหน่วยพักอาศัย ในเคหะชุมชนดินแดง กรุงเทพมหานคร |
450 |
แนวทางในการป้องกันและแก้ไขการค้าชำระหนี้สินเชื่อที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษา ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สาขาบางใหญ่ |
451 |
ที่พักอาศัยสำหรับผู้มาปฏิบัติธรรมในสถานปฏิบัติธรรม |
452 |
การออกแบบพื้นที่ชุมชนศาลาด่านเพื่อรองรับการให้บริการนักท่องเที่ยวอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ |
453 |
การใช้พื้นที่ภายในห้องชุดเอนกประสงค์ขนาดเล็กระดับราคาปานกลาง : กรณีศึกษา โครงการ A และ โครงการ B |
454 |
กระบวนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมประเภทโครงการอาคารอยู่อาศัยรวม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร |
455 |
การวางแผนทางการเงินของผู้ซื้อในโครงการออมเพื่อซื้อที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษา โครงการเดอะรูม สุขุมวิท 79 ของ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) |
456 |
แนวทางการอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองห้วยยอด จังหวัดตรัง |
457 |
การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมือง กรุงธนบุรี |
458 |
แนวทางการออกแบบเพื่อปรับปรุงพื้นที่สาธารณะบริเวณตลาดเก่าเยาวราช |
459 |
ความเชื่อมโยงระหว่างชนบทและเมืองในพื้นที่ขยายตัวของอภิมหานครกรุงเทพของการค้าในชนบท: กรณีศึกษาจังหวัดปทุมธานี |
460 |
แนวทางการอนุรักษ์แหล่งประวัติศาสตร์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน |
461 |
ขั้นตอนการให้บริการรับสร้างบ้านโดยบริษัทที่เป็นสมาชิกสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้านโดยบริษัทที่เป้นสมาชิกสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน : กรณีศึกษา บริษัท รอแยล เฮ้าส์ จำกัด และบริษัทโฟร์พัฒนา จำกัด |
462 |
การวางแผนทางการเงินของผู้ซื้อในโครงการออมเพื่อซื้อที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษา โครงการเดอะรูม สุขุมวิท 79 ของ บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) |
463 |
ความต้องการสิ่งอำนวยความสะดวกของผู้เช่าอาคารอยู่อาศัยรวมให้เช่า : กรณีศึกษา บริเวณถนนอ่อนนุช |
464 |
การติดตามผลด้านการบริหารจัดการด้านการเงินของสหกรณ์และกลุ่มออมทรัพย์ที่อยู่อาศัยในบ้านมั่นคง : กรณีศึกษาโครงการนำร่อง กรุงเทพมหานคร |
465 |
การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยในเมืองใหม่บางพลี ในวาระที่ 1 จังหวัดสมุทรปราการ |
466 |
การออกแบบปรับปรุงความเร็วลมเพื่อภาวะน่าสบายใต้ถุนอาคารสูง |
467 |
งานตรวจสอบสภาพอาคารด้านสถาปัตยกรรม ตามกฎหมายควบคุมอาคารประเภท อาคารชุดพักอาศัย |
468 |
แนวทางการอนุรักษ์และฟื้นฟูชุมชนคลองบางน้อย จังหวัดสมุทรสงคราม |
469 |
การออกแบบปรับปรุงความเร็วลมเพื่อภาวะน่าสบายใต้ถุนอาคารสูง |
470 |
การบริหารจัดการสำนักงานสถาปนิกจัดตั้งใหม่ : กรณีศึกษาสำนักงานสถาปนิกที่จัดตั้งในช่วงปี พ.ศ. 2543-2549 |
471 |
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยวิเคราะห์ตำแหน่งการติดตั้งดวงโคมสำหรับงานจิตรกรรม |
472 |
แนวทางการพัฒนาที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อยบนที่ดินราชพัสดุ : กรณีศึกษาชุมชนสามัคคีร่วมใจ บางเขน กรุงเทพมหานคร |
ปี พ.ศ. 2549 |
473 |
ความเป็นไปได้ในการจัดตั้งและดำเนินธุรกิจของบริษัทสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยในไทย |
474 |
แนวทางการพัฒนาที่ดินเพื่อการป้องกันน้ำท่วมและการระบายน้ำในพื้นที่อนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรมฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานคร |
475 |
การเปลี่ยนแปลงแบบมาตรฐานของบริษัทรับสร้างบ้าน : กรณีศึกษาบริษัทโฟร์พัฒนาจำกัด |
476 |
เรือนกะเหรี่ยงในจังหวัดราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ |
477 |
การวางแผนพัฒนาพื้นที่นันทนาการในแขวงดินแดง และแขวงห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร |
478 |
แนวทางการวางแผนการใช้ที่ดินที่สัมพันธ์กับทรัพยากรน้ำในพื้นที่ด้านตะวันตกของจังหวัดฉะเชิงเทรา |
479 |
ระบบสัญจรในโครงการเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน : กรณีศึกษา วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก |
480 |
แนวทางการออกแบบผังบริเวณและภูมิสถาปัตยกรรมสำหรับพื้นที่ลาดชัน |
481 |
ผลกระทบของโครงข่ายการเชื่อมโยงระบบคมนาคมต่อการพัฒนาเมืองใน สปป.ลาว |
482 |
การพัฒนาพิ้นที่พาณิชยกรรมย่านตลาดฉัตรไชยเทศบาลตำบลหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันข์ |
483 |
แนวทางการพัฒนาพื้นที่ย่านตลาดพระโขนงและตลาดอ่อนนุช กรุงเทพมหานคร |
484 |
งานภูมิสถาปัตยกรรมในสมัยรัชกาลที่ 5 |
485 |
พัฒนาการของย่านการค้าประตูน้ำ กรุงเทพมหานคร |
486 |
ความเชื่อมโยงของกิจกรรมทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรมเซรามิกระดับครัวเรือนในจังหวัดลำปาง |
487 |
ความเชื่อมโยงของกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในจังหวัดภูเก็ต |
488 |
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมของเมืองกับรูปแบบการเกิดอาชญากรรมในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ |
489 |
การเปรียบเทียบรอยต่อระบบแห้งและระบบเปียกของระบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กสำเร็จรูปสำหรับบ้านพักอาศัยสองชั้น : กรณีศึกษาทาวน์เฮาส์โครงการกานดา...บ้านริมคลอง 2 จังหวัดสมุทรสาคร |
490 |
แนวทางการจัดการอาคารพาณิชย์ที่มีการปรับปรุงเป็นอาคารอยู่อาศัยรวม : กรณีศึกษาอาคารพาณิชย์ในซอยหมู่บ้านวิกรม์ แขวงหัวหมาก กรุงเทพมหานคร |
ปี พ.ศ. 2548 |
491 |
การคงอยู่ของชุมชนพักอาศัยในพื้นที่กรุงรัตนโกสินทร์ : กรณีศึกษา ชุมชนหลังวัดราชนัดดา |
ปี พ.ศ. 2547 |
492 |
โครงการปรับปรุงพื้นที่บริเวณวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารและพื้นที่โดยรอบเทศบาลนครนครศรีธรรมราช |
493 |
การนำวิธีก่อสร้างกึ่งสำเร็จรูปมาใช้กับโครงการบ้านเดี่ยวสำหรับผู้มีรายได้น้อย : กรณีศึกษาโครงการบ้านเอื้ออาทร รังสิตคลอง 3 จังหวัดปทุมธานี |
ปี พ.ศ. 2546 |
494 |
ห้องแถวเมืองสงขลา : รูปแบบ, องค์ประกอบ และพัฒนาการ (พ.ศ. 2385-2504) |
495 |
ลักษณะขององค์ประกอบภูมิทัศน์เมืองที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศบริเวณถนน : กรณีศึกษา ถนนเจริญราษฎร์ |
496 |
บทบาทการท่องเที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง : กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร และอำนาจเจริญ |
497 |
แนวทางในการบรรเทาผลกระทบสถานที่ฝังกลบขยะมูลฝอยโดยใช้ภูมิทัศน์ : กรณีศึกษาแหล่งผังกลบขยะมูลฝอยอย่างถูกสุขลักษณะราชาเทวะ จ. สมุทรปราการ |
498 |
แนวความคิดในการอนุรักษ์ชุมชนไท-โคราช กรณีศึกษา : หมู่บ้านพระเพลิง |
ปี พ.ศ. 2545 |
499 |
การศึกษาเพื่อการคืนสภาพอาคารสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ : วัดตองปุ อ. เมืองลพบุรี |
500 |
ปัจจัยที่มีผลในการคิดค่าบริการวิชาชีพสถาปัตยกรรม |
501 |
ปริทัศน์บทความเรื่อง งานออกแบบเป็นงานวิจัยได้หรือ? |
502 |
บทปริทัศน์บทความเรื่อง นวัตกรรมที่อยู่อาศัยแบบยั่งยืน (An approach to a sustainable home) |
ปี พ.ศ. 2544 |
503 |
การพัฒนาดัชนีสำหรับการประเมินประสิทธิภาพด้านพลังงานของกรอบอาคาร |
504 |
การอนุรักษ์อาคารที่ได้รับอิทธิพลสถาปัตยกรรมตะวันตกสมัยรัชกาลที่ 5 : กรณีศึกษา อาคารที่ทำการกรมโยธาธิการ ถ.หลานหลวง กรุงเทพฯ |
ปี พ.ศ. 2543 |
505 |
บทปริทัศน์บทความเรื่อง วิธีวิทยาการวิจัยทางสถาปัตยกรรม |
ปี พ.ศ. 2542 |
506 |
การจัดการที่พักอาศัยของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจนครบาลปทุมวันและสถานีตำรวจดับเพลิงบรรทัดทอง เมื่อมีการย้ายตามแผนแม่บทเขตพาณิชย์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
ปี พ.ศ. 2539 |
507 |
ความต้องการที่อยู่อาศัยของข้าราชการครูชั้นผู้น้อย ในสังกัดสำนักงานการศึกษากรุงเทพมหานคร |