ปี พ.ศ. 2559 |
1 |
อิทธิพลของการเห็นคุณค่าแห่งตนโดยชัดแจ้งและโดยนัย ต่อการให้อภัยโดยชัดแจ้งและโดยนัยโดยมีอคติโดยชัดแจ้งและโดยนัยเป็นตัวแปรส่งผ่าน : การวิเคราะห์กลุ่มพหุ เปรียบเทียบระหว่างการคุกคามจากภายในกลุ่มและภายนอกกลุ่ม |
2 |
ประสบการณ์ด้านสุขภาวะทางจิตวิญญาณของผู้สูงอายุที่มีความเชื่อมโยงกับธรรมชาติสูง |
3 |
ความสัมพันธ์ของความเครียด ตราบาป เจตคติในการแสวงหาความช่วยเหลือทางจิตวิทยาและภาวะวิกฤตวัยกลางคนในคนวัยทำงาน |
4 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการควบคุมในงานและความพึงพอใจในงาน โดยมีรูปแบบการเผชิญปัญหาเป็นตัวแปรส่งผ่านและกรอบความคิดแบบยึดติด-เติบโตเป็นตัวแปรกำกับ |
5 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถในการออกกำลังกายกับพฤติกรรมการออกกำลังกายโดยมีความตั้งใจในการออกกำลังกายเป็นตัวแปรส่งผ่าน และการวางแผนรอบด้านเป็นตัวแปรกำกับ |
ปี พ.ศ. 2558 |
6 |
อิทธิพลของการยืนยันคุณค่าในตนเองและอารมณ์ทางบวก ต่อการประมวลสารโน้มน้าวใจเกี่ยวกับสุขภาพที่คุกคามตน |
7 |
ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวปัญญาพฤติกรรมนิยมร่วมกับการฝึกสติ ต่อพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่และปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องในนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
8 |
ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธที่มีศิลปะเป็นสื่อต่อปัญญา การยอมรับและภาวะซึมเศร้าในบุคคลภายหลังการรักษาโรคมะเร็ง |
9 |
กระบวนการนิเทศแบบกลุ่มตามโมเดลการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ: การวิจัยแบบสร้างทฤษฎีจากข้อมูล |
10 |
กระบวนการนิเทศแบบกลุ่มตามโมเดลการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ: การวิจัยแบบสร้างทฤษฎีจากข้อมูล |
11 |
ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธที่มีศิลปะเป็นสื่อต่อปัญญา การยอมรับและภาวะซึมเศร้าในบุคคลภายหลังการรักษาโรคมะเร็ง |
12 |
อิทธิพลของการยืนยันคุณค่าในตนเองและอารมณ์ทางบวก ต่อการประมวลสารโน้มน้าวใจเกี่ยวกับสุขภาพที่คุกคามตน |
13 |
ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวปัญญาพฤติกรรมนิยมร่วมกับการฝึกสติ ต่อพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่และปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องในนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
14 |
ผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยารายบุคคลตามแนวการบำบัดที่เน้นการยอมรับและความมุ่งมั่นแบบสั้นต่อความวิตกกังวลของผู้สูงอายุที่มีความเจ็บป่วยเรื้อรัง |
15 |
ประสบการณ์ทางจิตใจของมารดาที่บุตรได้รับการวินิจฉัยภาวะดาวน์ก่อนคลอด |
16 |
อิทธิพลของการเหยียดเพศแบบแยกขั้วต่อการกระทำเพื่อกลุ่มโดยมีการรับรู้ความยุติธรรมระหว่างเพศและการรับรู้ข้อได้เปรียบของการเป็นผู้หญิงเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
17 |
ความเครียดในบทบาท ความรู้สึกซาบซึ้งขอบคุณ ความหมายในชีวิต และความสุขในบริบทพุทธธรรมของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีความเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง |
18 |
ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวปัญญาพฤติกรรมนิยมที่มีศิลปะเป็นสื่อต่อภาวะซึมเศร้าและความร่วมมือในการรับประทานยาต้านไวรัสในชายรักชายผู้ติดเชื้อเอชไอวี |
19 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการแลกเปลี่ยนระหว่างหัวหน้าและสมาชิกและความผูกพัน โดยมีการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การกับการให้อำนาจเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
20 |
โมเดลความผูกพันทางความรู้สึกของเยาวชนต่อพรรคการเมือง |
21 |
ประสบการณ์ด้านจิตใจในการฟื้นพลังของเยาวชนที่ไม่กระทำผิดซ้ำ |
22 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความไม่สอดคล้องระหว่างบุคคลกับงาน ความแตกต่างระหว่างบุคคล การปั้นงาน และความผูกใจมั่นในงาน : การวิเคราะห์อิทธิพลของตัวแปรกำกับและตัวแปรส่งผ่าน |
23 |
อิทธิพลของความนิยมความสมบูรณ์แบบต่อวัตถุนิยมโดยมีการนำเสนอตนเองด้วยความสมบูรณ์แบบและการเพิ่มคุณค่าให้ตนเองเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
24 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความขัดแย้งระหว่างผู้ปกครองกับสุขภาวะทางจิตของนิสิตนักศึกษาโดยมีการริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตนเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
25 |
ผลของการอ้างอิงตนเองและความเกี่ยวพันสินค้าที่มีต่อเจตคติต่อโฆษณา เจตคติต่อสินค้า และการตั้งใจซื้อสินค้าที่ได้รับการสนับสนุนจากเสียงส่วนมากและเสียงส่วนน้อย |
26 |
ผลของพืชสวนบำบัดร่วมกับกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ ที่มีต่อปัญญา และความเป็นเนื้อเดียวกันกับธรรมชาติ ของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย |
27 |
ประสบการณ์ทางจิตใจของทหารผ่านศึกนอกประจำการที่มีความงอกงามภายหลังเผชิญเหตุการณ์สะเทือนขวัญ |
28 |
ประสบการณ์ด้านจิตใจในการพัฒนาตัวตนทางดนตรี และความหมายในชีวิตของนักดนตรีมืออาชีพ |
29 |
ประสบการณ์ด้านจิตใจของสมาชิกในครอบครัวภายหลังการเปิดเผยตนเองของผู้ที่มีความโน้มเอียงทางเพศแบบรักเพศเดียวกัน |
30 |
การเยียวยาทางจิตใจด้วยการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาแบบประคับประคอง: การศึกษาแบบปรากฎการณ์วิทยา |
31 |
การนับถือศาสนา การมีส่วนร่วมทางสังคม การเผชิญปัญหา และสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุที่มีความเจ็บป่วยและทุพพลภาพ |
32 |
ผลของกลุ่มพัฒนาตนที่ใช้รูปภาพเป็นสื่อต่อการพัฒนาความงอกงามหลังเผชิญเหตุการณ์สะเทือนขวัญและสุขภาวะทางจิตของสตรีภายหลังการรักษามะเร็งเต้านม |
ปี พ.ศ. 2557 |
33 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การโดยรวม และความผูกพันที่บุคลากรมีต่อองค์การ หัวหน้า และเพื่อนร่วมงาน โดยมีวัฒนธรรมปัจเจกนิยม-คติรวมหมู่เป็นตัวแปรกำกับ |
34 |
อิทธิพลของสัมพันธภาพในครอบครัวต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองในการตัดสินใจเลือกอาชีพของนักศึกษามหาวิทยาลัย |
35 |
อิทธิพลของการใช้อินเทอร์เน็ตต่อการอดทนอดกลั้นในการเรียน โดยมีการรับรู้ความสามารถของตนและการรับรู้ความสำคัญของงานเป็นตัวแปรกำกับ |
36 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดเผยตนเอง ความเหงา และการทำหน้าที่ของครอบครัวต่อพฤติกรรม การเสพติดอินเตอร์เน็ต |
37 |
การพัฒนาโปรแกรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของบลูมในการรับชมสื่อโฆษณา |
38 |
บรรยากาศองค์การ ความสอดคล้องระหว่างบุคคลกับงาน และความผูกพันในงานของพนักงานเจนวาย : การวิจัยผสานวิธี |
39 |
พัฒนาการด้านการแบ่งปันอย่างเท่าเทียม ในเด็กอายุ 6 - 10 ปี |
40 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความขัดแย้งระหว่างผู้ปกครอง, กลวิธีการเผชิญปัญหา และความพึงพอใจในชีวิตในนักศึกษามหาวิทยาลัย |
41 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อว่าโลกยุติธรรม การนับถือศาสนาภายในและการนับถือศาสนาภายนอกกับความสุขเชิงอัตวิสัยและสุขภาวะทางจิต |
42 |
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการดื่มแอลกอฮอล์ในวัยรุ่นหญิง |
43 |
ความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยา ภาวะผู้นำแบบจริงแท้และความผูกพันในองค์กรของพนักงาน |
44 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการเซลฟี่และเจตคติต่อการทำศัลยกรรมเสริมความงาม โดยมีการรับรู้ตนเสมือนวัตถุเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
45 |
อิทธิพลของรูปร่างในอุดมคติจากสื่อออนไลน์ ได้แก่ Facebook และ Instagram ที่ส่งผลต่อการมีค่านิยมทางวัตถุโดยมีเจนเนอเรชนั่ เอ็กซ์และวายเป็นตัวแปรกำกับ |
46 |
ผลของการพัฒนาการฟื้นพลังต่อปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้อง |
47 |
อิทธิพลของความพึงพอใจในค่าตอบแทน ความท้าทายในงาน และความมั่นคงในการทำงาน ต่อความผูกพันในองค์การ : เปรียบเทียบเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์และเจนเนอเรชั่นวาย |
48 |
ผลจากการชี้แนะเกี่ยวกับเงินและการชี้แนะความเชื่อมโยงกับผู้อื่นต่อพฤติกรรมการบริจาค |
49 |
อิทธิพลของปัจจัยทางจิตวิทยาต่อความตั้งใจในการแสดงพฤติกรรมการซื้อถุงยางอนามัย ของกลุ่มวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร |
50 |
ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อการทำแท้ง การรับรู้การสนับสนุนทางสังคม และความรู้สึกเป็นตราบาปในการทำแท้ง กับเจตนาในการทำแท้ง |
51 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการมีสติ ความต้องการทางปัญญา และการเรียนรู้โดยไม่รู้ตัว : การศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในจังหวัดศรีสะเกษ |
52 |
ผลของท่าทีผู้ซักถามและการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ถูกซักถามต่อการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถาม |
53 |
อิทธิพลของการกำกับการแสดงออกของตนและการพร่องในการควบคุมตนต่อการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถาม |
54 |
ผลของการโน้มน้าวใจด้วยความกลัวต่อเจตนาและพฤติกรรมสุขภาพ : อิทธิพลกำกับของความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรม |
55 |
ผลของกลุ่มตามแนวปัญญาพฤติกรรมนิยมต่อการฟังอย่างตั้งใจและความเมตตากรุณาในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น |
56 |
การทำนายความเป็นไปได้ในการโกหกและการยอมรับการโกหกด้วยตัวแปรบุคลิกภาพ |
57 |
ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวความหมายในชีวิตต่อการเปลี่ยนแปลงของสุขภาวะในเยาวชนผู้กระทำผิดที่ใช้สารเสพติดที่มีระดับการควบคุมตนเองแตกต่างกัน |
58 |
ผลของการมองจากมุมของผู้อื่นต่อการลดเจตคติรังเกียจกลุ่มแบบแอบแฝง : อิทธิพลกำกับของการนิยามตัวตนและอิทธิพลส่งผ่านของการเชื่อมโยงตนเข้ากับผู้อื่น |
59 |
อิทธิพลของการถูกปฏิเสธจากกลุ่มต่อการคล้อยตามกลุ่ม : การศึกษาอิทธิพลกำกับของความอ่อนไหวต่อการถูกปฏิเสธต่ออิทธิพลส่งผ่านของความก้าวร้าว |
60 |
การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองด้านอาชีพ การรับรู้ความสามารถของตนด้านอาชีพ และความสอดคล้องในตนด้านเป้าหมายการเลือกเส้นทางอาชีพของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย |
61 |
ประสบการณ์ทางจิตใจของผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดำเนินชีวิตและมีความเชื่อมโยงกับธรรมชาติผ่านการทำสวน |
62 |
ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ในชีวิตทางลบ เหตุการณ์ในชีวิตทางบวกเเละการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถามโดยมีการเห็นคุณค่าในตนเองเป็นตัวเเปรส่งผ่าน |
63 |
การสนับสนุนจากครอบครัว ความหมายในชีวิต และสุขภาวะในเยาวชนผู้กระทำผิดที่ใช้สารเสพติด : การวิจัยแบบผสานวิธี |
64 |
การรับรู้ประสบการณ์ด้านจิตใจของพนักงานภายหลังได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ |
65 |
อิทธิพลของความเชื่อว่าโลกมีความยุติธรรมต่อการตัดสินด้านจริยธรรม |
66 |
ผลของการยืนยันคุณค่าของตนเองต่อปฏิกิริยาตอบสนองการดูถูกโดยบุคคลในกลุ่มและนอกกลุ่ม |
67 |
ความสัมพันธ์ของความไม่ซื่อสัตย์ทางการศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยมีตัวแปรความมีศีลธรรมเป็นตัวแปรกำกับ |
ปี พ.ศ. 2556 |
68 |
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพแบบหลงตนเองและการเผชิญปัญหาต่อการเปิดเผยตนเองบนเฟชบุ๊ก |
69 |
อิทธิพลของคุณลักษณะที่พึงประสงค์ต่อความพึงพอใจในครอบครัว โดยมีการประเมินแก่นแท้ของตนเองเป็นตัวแปรส่งผ่าน : การเปรียบเทียบโมเดลระหว่างวัยรุ่นตอนกลางและตอนปลาย |
70 |
อิทธิพลของความเป็นส่วนหนึ่งในงาน ความพึงพอใจในงาน และความผูกพันกับองค์การต่อความตั้งใจลาออก |
71 |
ประสบการณ์การแสวงหาความช่วยเหลือด้านจิตใจทางอินเทอร์เน็ตในวัยรุ่น : การวิจัยเชิงคุณภาพแบบทีมผู้วิจัยเห็นชอบร่วมกัน |
72 |
อิทธิพลของการมีข้อมูลพื้นฐานต่อความแม่นยำในการจับโกหกและจับความจริง |
73 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนของผู้ปกครองด้านอาชีพ
และความลังเลใจในการเลือกเส้นทางอาชีพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
โดยมีการรับรู้ความสามารถของตนในการตัดสินใจเลือกเส้นทางอาชีพเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
74 |
ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาเพื่อยืนยันความเป็นตัวตนของชายรักชายต่อความรู้สึกด้อยค่าจากการรักเพศเดียวกันของชายรักชาย |
75 |
โมเดลเชิงสาเหตุของความเต็มใจที่จะบริจาคอวัยวะ |
76 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเครียดและความสุขในนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย
โดยมีความเมตตากรุณาต่อตนเองเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
77 |
อิทธิพลของการติดต่อระหว่างกลุ่มต่อระยะห่างทางสังคม : บทบาทการส่งผ่านของความวิตกกังวลระหว่างกลุ่มและเจตคติโดยนัยและเจตคติทางตรง |
78 |
อิทธิพลของอำนาจและความชอบธรรมต่อระยะห่างทางสังคม : การศึกษาอิทธิพลส่งผ่านของความพอเพียงในตนเอง |
79 |
อิทธิพลของการมองโลกในแง่ดี ต่อความพึงพอใจในความสัมพันธ์ และการผูกมัดในความสัมพันธ์ โดยมีภาพลวงตาทางบวกเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
80 |
ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับการอาสาสมัครของนิสิตปริญญาตรีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
81 |
ประสบการณ์การฟื้นคืนได้ของครอบครัวที่มีบุตรเป็นออทิสติก |
82 |
ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวซาเทียร์ต่อความสอดคล้องกลมกลืนในตนของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย |
83 |
ประสบการณ์ทางจิตใจของนักจิตวิทยาการปรึกษาในการทำงานกับผู้รับบริการที่มีความเสี่ยงสูงต่อการฆ่าตัวตาย |
84 |
ประสบการณ์ทางจิตใจของวัยรุ่นที่ปรับตัวได้จากครอบครัวที่มีความขัดแย้งสูง |
85 |
ผลของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวปัญญาพฤติกรรมนิยมต่อการกำกับอารมณ์ตนเองและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในเด็กที่มาจากครอบครัวหย่าร้าง |
86 |
ผลของกลุ่มพัฒนาตนโดยมีภาพยนตร์เป็นสื่อที่มีผลต่อความหวังในบุคคลภายหลังการรักษาโรคมะเร็ง |
87 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความกระปรี้กระเปร่าในงานกับผลการปฏิบัติงานโดยมีความยืดหยุ่นทางการรู้คิด การสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงาน ความยืนหยัดในงาน และการกำหนดเป้าหมายที่ท้าทาย เป็นตัวแปรส่งผ่าน |
88 |
ผลของความเห็นของผู้อื่น การกำกับการแสดงออกของตน และความเกี่ยวเนื่องกับแหล่งข้อมูล ต่อเจตคติรังเกียจกลุ่มแบบแอบแฝง |
89 |
อิทธิพลของบุคลิกภาพแบบเปิดตัวและบุคลิกภาพแบบเป็นมิตร ต่อความพึงพอใจในความสัมพันธ์ของคู่รักโดยมีรูปแบบความผูกพันเป็นตัวแปรส่งผ่านและเพศเป็นตัวแปรกำกับ |
90 |
อิทธิพลของแรงจูงใจในกิจกรรมและการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การต่อความตั้งใจลาออก โดยมีความผูกพันกับองค์การเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
91 |
คติชาติพันธุ์นิยมและความเต็มใจช่วยเอื้อต่อการปรับตัวของพนักงานต่างชาติ : อิทธิพลส่งผ่านของการจัดประเภททางสังคม และอิทธิพลกำกับของความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับองค์การ |
92 |
อิทธิพลเชิงสาเหตุของผลงานขององค์การต่อการเลือกผู้นำจากเพศ และการรับรู้ความเหมาะสมของผู้นำ โดยมีลักษณะนิสัยของผู้นำและเพศของผู้นำในอดีตเป็นตัวแปรกำกับ |
93 |
อิทธิพลของการมองโลกในแง่ดี ความสามารถในการฟื้นคืนได้ การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ ต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การโดยมีความสุขเชิงอัตวิสัยเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
94 |
การพัฒนากรอบมโนทัศน์และมาตรวัดความทุกข์ในนิสิตนักศึกษา |
95 |
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ ทุนทางจิตวิทยา และความสุขของนิสิตนักศึกษาปริญญาตรี |
96 |
การนับถือศาสนา การเผชิญปัญหา การสนับสนุนทางสังคม และการฟื้นคืนพลังของสมาชิกในครอบครัวที่มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
97 |
ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการเสริมสร้างกล้ามเนื้อกับบุคลิกภาพแบบหลงตนเองของเพศชาย |
98 |
ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะสมบูรณ์แบบนิยมกับความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานโดยมีการติดงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
99 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการหมกมุ่นครุ่นคิดและความวิตกกังวลโดยมีสติเป็นตัวแปรกำกับ |
100 |
การเป็นองค์กรในฝันและพันธะสัญญาใจของนิสิตนักศึกษาปริญญาตรีและพนักงาน |
101 |
ความตั้งใจในการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของกลุ่มวัยรุ่นหญิง : การศึกษาตามแนวทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล |
102 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการเผชิญปัญหากับสุขภาวะเชิงอัตวิสัยในบุคคลในช่วงระยะเกษียณ |
103 |
ผลของการมองจากมุมของผู้อื่นต่อการลดเจตคติรังเกียจกลุ่มแบบแอบแฝง : การศึกษาการเห็นคุณค่าในตนเองแบบแอบแฝงในฐานะตัวแปรกำกับ |
104 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกทางลบกับการขาดความยับยั้งชั่งใจในการรับประทานโดยมีการตระหนักรู้ในตนเป็นตัวแปรกำกับ |
105 |
อิทธิพลของบุคลิกภาพแบบแสดงอำนาจเหนือผู้อื่น และบุคลิกภาพแบบใช้อำนาจฝ่ายขวาต่อการเหยียดเพศโดยมีการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกของผู้อื่น และความรู้สึกแปลกแยกจากสังคมเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
106 |
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพแบบหลงตนเองและการเผชิญปัญหาต่อการเปิดเผยตนเองบนเฟชบุ๊ก |
107 |
การพัฒนาโปรแกรมการสอนความคิดสร้างสรรค์โดยใช้เทคนิคการคิดหน่วยภาษาแบบอเนกนัยตามแนวคิดของกิลฟอร์ด |
108 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองในการออกกำลังกาย การซึมซับจากวัฒนธรรมสังคมและความไม่พึงพอใจในรูปลักษณ์กับเจตนาที่จะออกกำลังกาย |
109 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความวิตกกังวลทางสังคม การรับรู้ความสามารถทางคอมพิวเตอร์ การควบคุมตนเอง กับพฤติกรรมการเล่นเกมออนไลน์ |
110 |
ความขัดแย้งในความสัมพันธ์ : บทบาทของบุคลิกภาพแบบมุ่งความสมบูรณ์แบบ ความฉลาดทางอารมณ์ ความขัดแย้งในงาน และการได้รับผลป้อนกลับ |
111 |
การวิเคราะห์จำแนกกลุ่มระหว่างนักกอล์ฟอาชีพและนักกอล์ฟสมัครเล่นไทยด้วยคุณลักษณะและทักษะทางจิตวิทยา |
112 |
อิทธิพลส่งผ่านของการหมกมุ่นครุ่นคิดเกี่ยวกับอารมณ์โกรธระหว่างประสบการณ์การเจอเหตุการณ์ที่ไม่ยุติธรรมและการให้อภัยผู้อื่นโดยมีความเชื่อว่าโลกมีความยุติธรรมประเภทเชื่อว่าผลกรรมตามสนองเป็นตัวแปรกำกับ |
113 |
อิทธิพลของลักษณะสมบูรณ์แบบนิยมต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสุขภาวะทางจิต : การแบ่งมีติลักษณะสมบูรณ์แบบนิยมเชิงบวกและเชิงลบ |
114 |
อิทธิพลของรูปแบบความผูกพันต่อความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงาน |
115 |
ความตั้งใจในการใช้ถุงยางอนามัยของวัยรุ่นตอนกลาง : การศึกษาตามทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล |
116 |
อิทธิพลของการกำกับอารมณ์โดยวิธีทางปัญญาต่อปัญหาสุขภาพจิตโดยควบคุมอิทธิพลของความเข้มแข็งอดทน |
117 |
ผลของการได้รับการกระตุ้นจากภาพตัวละครในวิดีโอเกมต่อการลงความเห็นเกี่ยวกับการยอมรับความก้าวร้าวรุนแรงระหว่างบุคคล |
118 |
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์โดยใช้เทคนิคการแต่งกลอนสด |
119 |
ความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยมทางวัตถุและความพึงพอใจในชีวิตโดยมีสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมเป็นตัวแปรกำกับ |
120 |
อิทธิพลการทำนายของบรรยากาศองค์การด้านมนุษยสัมพันธ์และความเชื่อมั่นในความสามารถของตนในการทำงานต่อความทุ่มเทในงานและการติดงานของพนักงานบริษัท |
121 |
ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะสมบูรณ์แบบนิยมในคู่รักกับความพึงพอใจในความสัมพันธ์โดยมีการมองโลกในแง่ดีเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
122 |
เชื่อใจหรือไม่เชื่อใจ : อิทธิพลของการแสดงออกทางสีหน้า |
123 |
ผลของการใช้สื่อในการเปลี่ยนเจตคติต่อชายรักชาย |
124 |
อิทธิพลของสารโน้มน้าวใจที่มีเนื้อหามุ่งเน้นด้านสุขภาพกับมุ่งเน้นด้านรูปลักษณ์ต่อเจตคติในการออกกำลังกาย |
125 |
ผลของประเภทผู้ได้รับผลประโยชน์ต่อพฤติกรรมการโกง ความรู้สึกผิด และการรับรู้การผิดศีลธรรมของพฤติกรรม |
ปี พ.ศ. 2555 |
126 |
ผลของความคิดสร้างสรรค์ในโฆษณาต่อพฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริโภค |
127 |
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพแบบห้าองค์ประกอบกับการตระหนักถึงความจำเป็นเร่งด่วนในการเปลี่ยนแปลง และความพึงพอใจในสภาวะที่เป็นอยู่โดยไม่ตระหนักถึงอันตรายที่เกิดขึ้น |
128 |
การทำนายความเชื่อเหมารวมทางเชื้อชาติ เจตคติรังเกียจกลุ่ม และแนวโน้มการกีดกันทางสังคม โดยใช้การเห็นคุณค่าในตนเองแบบเด่นชัดและแบบแอบแฝง |
129 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ตราบาป การเผชิญปัญหา และเจตคติในการแสวงหาความช่วยเหลือจากนักจิตวิทยาในพนักงาน |
130 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดทางบวกความสุข และความวิตกกังวลในนิสิตนักศึกษาปริญญาตรีที่ได้รับการฝึกการเจริญสมาธิแบบเมตตา |
131 |
ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะมุ่งเน้นความสมบูรณ์แบบกับความตั้งใจในการลาออกของพนักงานโดยมีความเหนื่อยหน่ายในการทำงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
132 |
อิทธิพลของบทโฆษณาและเพศผู้ส่งและรับสารต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า : การประยุกต์ใช้ทฤษฎีแรงจูงใจในบทโฆษณา |
133 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการสัมผัสกับธรรมชาติต่อสุขภาวะโดยมีความเป็นเนื้อเดียวกันกับธรรมชาติเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
134 |
ประสบการณ์ความกลมกลืนของชีวิตและการงาน : กรณีศึกษาบัณฑิตจิตวิทยาการปรึกษา |
135 |
ประสบการณ์ของนักจิตวิทยาการปรึกษาแนวพุทธมือใหม่ |
136 |
ผลของกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธที่มีต่อการริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตนและการเผชิญปัญหาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย |
137 |
อิทธิพลของแหล่งทรัพยากรที่เอื้อต่องานและข้อเรียกร้องในงานต่อความผูกใจมั่นในงานโดยมีทุนทางจิตวิทยาเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
138 |
ประสบการณ์ทางจิตใจของผู้ประสบอุทกภัยในชุมชนเข้มแข็ง : กรณีศึกษาเทศบาลนครปากเกร็ด |
139 |
อิทธิพลของแหล่งทรัพยากรที่เอื้อต่องานและข้อเรียกร้องในงานต่อความพึงพอใจในงานของพนักงานโดยมีความผูกใจมั่นในงานและความเหนื่อยหน่ายในงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
140 |
เหตุการณ์ในชีวิตทางลบ การนับถือศาสนา สุขภาวะทางจิตวิญญาณ และความสุขในบริบทพุทธธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัย |
141 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมจากผู้ร่วมงาน การสนับสนุนจากครอบครัวต่องาน กับความสุขในการทำงาน โดยมีความกระปรี้ประเปร่าในงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
142 |
อิทธิพลของบุคลิกภาพแบบหลงตนเองต่อการตอบรับของผู้บริโภค : การวิเคราะห์อิทธิพลส่งผ่านความเป็นวัตถุนิยมและอิทธิพลกำกับของรูปแบบการดึงดูด |
143 |
การติดงานและความผูกใจมั่นในงาน : สาเหตุเชิงแรงจูงใจ และผลด้านความเหนื่อยหน่ายในงาน |
144 |
ประสบการณ์การเห็นคุณค่าในตนเองภายหลังการเข้าร่วมกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ |
145 |
การยอมรับตนเองด้านความโน้มเอียงทางเพศของชายรักชาย : การวิจัยเชิงคุณภาพแบบทีมผู้วิจัยเห็นชอบร่วมกัน |
146 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าในตนเอง ความเมตตากรุณาต่อตนเอง ค่าดัชนีมวลกาย การประเมินตนเสมือนวัตถุและความพึงพอใจในภาพลักษณ์ทางร่างกายในสตรีวัยรุ่น |
147 |
ผลของกลุ่มพัฒนาตนและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธด้วยการใช้การเคลื่อนไหวร่างกายเป็นสื่อต่อปัญญาในสตรีผู้ผ่านการรักษามะเร็งเต้านม |
148 |
ประสบการณ์ด้านจิตใจของนักศึกษาที่ยากจนจากชนบทและได้รับทุนการศึกษา |
149 |
ประสบการณ์ทางจิตใจของชายรักชายที่ไม่เปิดเผยความโน้มเอียงทางเพศของตนเองต่อครอบครัว |
150 |
ประสบการณ์ทางจิตใจของอาสาสมัครช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม |
151 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมจากผู้ร่วมงาน การสนับสนุนจากครอบครัวต่องาน กับความสุขในการทำงาน โดยมีความกระปรี้ประเปร่าในงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
152 |
ประสบการณ์ของนักจิตวิทยาการปรึกษาแนวพุทธมือใหม่ |
153 |
อิทธิพลของแหล่งทรัพยากรที่เอื้อต่องานและข้อเรียกร้องในงานต่อความพึงพอใจในงานของพนักงานโดยมีความผูกใจมั่นในงานและความเหนื่อยหน่ายในงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
154 |
ประสบการณ์ความกลมกลืนของชีวิตและการงาน : กรณีศึกษาบัณฑิตจิตวิทยาการปรึกษา |
155 |
เหตุการณ์ในชีวิตทางลบ การนับถือศาสนา สุขภาวะทางจิตวิญญาณ และความสุขในบริบทพุทธธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัย |
156 |
ประสบการณ์ทางจิตใจของผู้ประสบอุทกภัยในชุมชนเข้มแข็ง : กรณีศึกษาเทศบาลนครปากเกร็ด |
157 |
อิทธิพลของแหล่งทรัพยากรที่เอื้อต่องานและข้อเรียกร้องในงานต่อความผูกใจมั่นในงานโดยมีทุนทางจิตวิทยาเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
158 |
ผลของกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธที่มีต่อการริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตนและการเผชิญปัญหาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย |
159 |
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบความผูกพันกับเจตคติในการทำศัลยกรรมเสริมความงามโดยมีการรับรู้ภาพลักษณ์ทางร่างกายเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
160 |
อิทธิพลของความสอดคล้องและไม่สอดคล้องระหว่างการเห็นคุณค่าแห่งตนโดยนัยและการเห็นคุณค่าแห่งตนที่รับรู้ต่อวัตถุนิยม |
161 |
การพัฒนาและการสร้างคลังภาพที่สื่อถึงอารมณ์ทางบวก |
162 |
ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของความรักและการให้อภัยโดยมีการรับรู้ความรุนแรงของการกระทำผิดเป็นตัวแปรกำกับ |
163 |
ผลของอารมณ์ที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ |
164 |
ผลของกิจกรรมกลุ่มต่อการเห็นคุณค่าในตนเองของวัยรุ่นตอนต้น |
165 |
อิทธิพลทำนายของแรงจูงใจในการทำงานแบบกำหนดตนเอง และการรับรู้บรรยากาศในองค์การ ต่อความเครียดในการทำงานของพนักงานโดยมีปรากฏการณ์ "มันเดย์บลูส์" เป็นตัวแปรกำกับ |
166 |
อิทธิพลของการสื่อสารแบบบอกต่อทางลบต่อความไม่พึงพอใจในประสบการณ์หลังการบริโภคและในความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลโดยมีความโน้มเอียงในการเปรียบเทียบทางสังคมเป็นตัวแปรกำกับ |
167 |
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการคิดและการให้อภัยในนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี |
168 |
การศึกษาเปรียบเทียบความสุขในบริบทพุทธธรรม ความเชื่ออำนาจในการควบคุมตนและการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ที่มีและไม่มีพฤติกรรมบนบาน |
169 |
อิทธิพลของภาพยนตร์แนวเอื้อสังคมต่อการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกและเจตคติต่อพฤติกรรมเอื้อสังคมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 |
170 |
อิทธิพลของวงจรเซอร์คาเดียนและเวลาการทำงานที่มีต่อสุขภาพจิตของพนักงานรักษาความปลอดภัย |
171 |
การศึกษาการพัฒนาความรู้สึกซาบซึ้งขอบคุณและผลลัพธ์ทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้อง |
172 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดในการทำงาน การแสวงหาการสัมผัส สุขภาวะทางจิตกับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ |
173 |
ความสัมพันธ์ของรูปแบบความผูกพันต่อการติดเฟชบุคโดยมีการเห็นคุณค่าในตนเองเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
174 |
ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะมุ่งเน้นความสมบูรณ์แบบกับความพึงพอใจในชีวิตโดยมีการผัดวันประกันพรุ่งเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
175 |
อิทธิพลของความวิตกกังวลทางสังคมและความเบื่อหน่ายในยามว่างต่อการติดโทรศัพท์เคลื่อนที่ในนิสิต/นักศึกษาระดับปริญญาตรี |
176 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงานกับความผูกพันต่อองค์การโดยมีความเข้มแข็งอดทนเป็นตัวแปรกำกับ |
177 |
การฟื้นฟูภาวะจิตใจและการร่วมมือช่วยเหลือทางจิตวิทยาที่ยั่งยืนแก่เด็ก เยาวชนและครอบครัวหลังการประสบภัยพิบัติสึนามิ : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
ปี พ.ศ. 2554 |
178 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในรูปลักษณ์ การเห็นคุณค่าในตนเองกับแนวโน้มในการทำศัลยกรรมเสริมความงาม |
179 |
ประสบการณ์ความทุกข์ของนิสิตนักศึกษาหอพักที่เข้าร่วมกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธ |
180 |
การเติบโตภายหลังเผชิญเหตุการณ์สะเทือนขวัญของผู้รอดชีวิตจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ |
181 |
ประสบการณ์ของนักจิตวิทยาการปรึกษาแนวพุทธ : การดำเนินชีวิตและการงานบนฐานอริยสัจ 4 |
182 |
เจตคติของวัยรุ่นไทยที่มีต่อละครไทยและละครเกาหลี |
183 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการมองโลกในแง่ดี ความแตกต่างระหว่างเพศ กับพฤติกรรมการจัดการปัญหาความรักในวัยเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัย |
184 |
ตนที่ผ่านการบ่มเพาะของนิสิตปริญญาตรี คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยา |
185 |
ประสบการณ์ของการตัดสินใจไม่ได้ในการเลือกเส้นทางอาชีพของนักศึกษามหาวิทยาลัยชั้นปีสุดท้าย |
186 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความสอดคล้องระหว่างตัวตนในอุดมคติและตัวตนที่แท้จริง การระบุตัวตนของตราสินค้า ลักษณะแบบปัจเจกนิยม ความพึงพอใจของผู้บริโภคและความภักดีต่อตราสินค้า |
187 |
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ บุคลิกภาพตราสินค้า และเจตคติต่องานโฆษณา |
188 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันในครอบครัวแบบวิตกกังวล ความคลั่งไคล้ศิลปินดารากับเจตคติต่อการทำศัลยกรรมเสริมความงาม |
189 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความมั่นคงทางอารมณ์ การเผชิญปัญหาแบบมุ่งจัดการกับปัญหา และความสุขในการทำงาน |
190 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการมองโลกในแง่ดีและความวิตกกังวลจากการบริโภคสื่อเกี่ยวกับเหตุการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย |
191 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับการแสดงออกของตนและการนำเสนอตนเองในพฤติกรรมการใช้เฟสบุ๊ค |
192 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการมองโลกในแง่ดี เพศ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ |
193 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความคาดหวังของพ่อแม่ด้านการเรียน แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และพฤติกรรมทุ่มเทให้การเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย |
194 |
ความพึงพอใจในงานและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจในงานของข้าราชการระดับปฏิบัติการกระทรวงมหาดไทย |
195 |
ผลของการใช้แผนผังทางปัญญาต่อความจำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 |
196 |
ผลการศึกษาความสามารถในการฟื้นพลังของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น |
197 |
การพัฒนามาตรวัดสมรรถนะของหัวหน้างานในหน่วยงานด้านบริการ |
198 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการแสวงหาการสัมผัส แรงจูงใจในการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กับพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นตอนปลาย |
199 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดในการทำงานกับความพึงพอใจในงานของพนักงานบริการบริษัทแห่งหนึ่ง |
200 |
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอบรมเลี้ยงดู ความพึงพอใจในชีวิตและการเห็นคุณค่าในตนเองในวัยรุ่นตอนต้น |
201 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความคลั่งไคล้ศิลปินดารา การเห็นคุณค่าในตนเอง และการลอกเลียนแบบด้านพฤติกรรมในแฟนคลับวัยรุ่น |
202 |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความซาบซึ้งใจเมื่อได้รับของขวัญ และความคาดหวังความซาบซึ้งใจเมื่อมอบของขวัญ : เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างรูปแบบความสัมพันธ์แบบเพื่อนกับรูปแบบความสัมพันธ์แบบโรแมนติก |
203 |
รูปแบบความผูกพันในวัยผู้ใหญ่สัมพันธ์กับรูปแบบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Transformational Leadership) ของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
204 |
อิทธิพลของความไม่พึงพอใจในรูปลักษณ์และการเห็นคุณค่าในตนเองต่อการรับรู้ว่าตนตกเป็นเป้าสายตาเกินจริงในวัยรุ่นเพศหญิง |
205 |
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพแบบห้าองค์ประกอบและการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน |
206 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าในตนเอง ภาระงาน ความเชื่อในอำนาจควบคุมกับความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน |
207 |
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ จิตอาสา และสุขภาวะทางจิตในนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต |
208 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงาน ความผูกพันกับองค์การ การทำหน้าที่พลเมืองในองค์การกับความตั้งใจในการลาออกจากงาน |
209 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าในตนเอง การทำหน้าที่ของครอบครัวและสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุ |
210 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าในตนเองและค่านิยมทางวัตถุของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 |
211 |
โปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมการตั้งใจเรียนโดยใช้ตัวแบบและการเสริมแรงในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 |
212 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการฟันฝ่าอุปสรรค การมองโลกในแง่ดีกับความเครียดของนิสิตนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 3 และ 4 |
213 |
การทดสอบโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพัฒนาการของเด็กที่มี/ไม่มีการฟื้นคืนได้เป็นตัวแปรส่งผ่าน : การเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มเด็กประสบ/ไม่ประสบภัยสึนามิปี 2547 |
214 |
ประสบการณ์การเปิดเผยความโน้มเอียงทางเพศของชายรักชายต่อครอบครัว |
215 |
ความรุนแรงต่อผู้สูงอายุ : การเยียวยาทางจิตวิทยาการปรึกษา |
216 |
ประสบการณ์ของนักจิตวิทยาการปรึกษาแนวพุทธ : การดำเนินชีวิตและการงานบนฐานอริยสัจ 4 |
217 |
การเติบโตภายหลังเผชิญเหตุการณ์สะเทือนขวัญของผู้รอดชีวิตจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ |
218 |
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพแบบหลงตนเอง ความเหงา การเพิ่มคุณค่าให้ตนเอง และพฤติกรรมการกดถูกใจในเฟชบุ๊ก |
219 |
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพแมคคิเวลเลียน บุคลิกภาพหลงตนเอง และการเลือกที่รักมักที่ชัง |
220 |
ผลของการรับรู้ความสามารถของตนเองและการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมต่อสุขภาวะในวัยรุ่นตอนต้น |
221 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับการปรับตัวในมหาวิทยาลัยของนิสิตชั้นปีที่ 1 |
222 |
ประสบการณ์ทางจิตใจในภาวะการเปลี่ยนผ่านจากการเรียนสู่การทำงานของผู้ที่ยังไม่ได้งานทำวัยผู้ใหญ่ตอนต้น |
ปี พ.ศ. 2553 |
223 |
ความเครียด การจัดการกับปัญหา และความสุขในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่กำลังเตรียมตัวสอบเข้าเรียนระดับมหาวิทยาลัย |
224 |
บทบาทของการรับรู้ความสามารถในตน การรับรู้ความสามารถในการกำกับตนเองด้านการเรียนและบุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบ ในการทำนายการผัดวันประกันพรุ่ง |
225 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับการแสดงออกของตน สุขภาวะทางจิต และความพึงพอใจในงานของพนักงานบริษัทแห่งหนึ่ง |
226 |
อิทธิพลของการประเมินแก่นแท้ของตนเองต่อความผูกใจมั่นในองค์การ โดยมีความพึงพอใจในงานเป็นตัวแปรสื่อ : กรณีศึกษาบริษัท แอมเวย์ (ประเทศไทย) จำกัด |
227 |
การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ด้วยหมากล้อมในนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 |
228 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรค การสนับสนุนทางสังคม กับความเครียดในนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 |
229 |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการรับรู้ความสามารถของตนในการสอบเข้ามหาวิทยาลัยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย |
230 |
ปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับความรังเกียจเดียดฉันท์ต่อผู้หญิงที่วัดโดยตรง และวัดโดยนัย |
231 |
อิทธิพลของแรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ แรงจูงใจใฝ่ใกล้ชิด การเปิดเผยตนเองและการเห็นคุณค่าในตนเองต่อการใช้แอพพลิเคชั่น "การรับเพื่อน" ในเฟชบุค |
232 |
ผลจากการลิดรอนสิทธิเสรีภาพและการเห็นคุณค่าในตนเองต่อการต่อต้านการโน้มน้าวใจ |
233 |
เจตคติต่อผู้มีรสนิยมทางเพศแบบรักร่วมเพศ ในนักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่เรียนในโรงเรียนชายล้วน โรงเรียนหญิงล้วนและโรงเรียนสหศึกษา |
234 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินแก่นแท้ของตนเอง ความพึงพอใจในงานและความมีส่วนร่วมในงานของพนักงาน |
235 |
ความสัมพันธ์ของความเครียดในงาน ความผูกพันกับองค์การ และความพึงพอใจในงาน ของพนักงานบริษัทเอกชน |
236 |
ความเครียด ความสุข และการได้รับการสนับสนุนทางสังคมระหว่างมารดาที่มีบุตรเป็นออทิสติก และมารดาที่มีบุตรปกติ |
237 |
การพัฒนาการตัดสินใจเลือกอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย |
238 |
ผลของการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านภาษาอังกฤษและการรับรู้ความคาดหวังทางสังคม ที่มีต่อลักษณะมุ่งในอนาคต |
239 |
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมกล้าแสดงออกของนักเรียนไทย : เปรียบเทียบระหว่างนักเรียนไทยในโรงเรียนไทยและโรงเรียนนานาชาติ |
240 |
อิทธิพลของความเชื่ออำนาจควบคุมตน บุคลิกภาพแบบวิตกกังวลและความพึงพอใจในชีวิต ต่อความเชื่อทางโหราศาสตร์และปรจิตวิทยา |
241 |
การเห็นคุณค่าในตนเอง แรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ และสุขภาวะทางจิต ในผู้ใหญ่ตอนปลายที่เป็นอาสาสมัครและผู้ใหญ่ตอนปลายทั่วไป |
242 |
ผลของการเตือนล่วงหน้า และการโฆษณาเกี่ยวกับการทำทาน ต่อการซื้อสินค้าเพื่อการบริจาค |
243 |
ความพึงพอใจในงานและการทำงานต่างกะของพนักงานรักษาความปลอดภัย |
244 |
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูกับความมีวินัยในตนเอง ตามการรับรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น |
245 |
ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะบุคลิกภาพของบุคคลกับลักษณะบุคลิกภาพของบุคคลที่สำคัญในชีวิต |
246 |
ความตั้งใจที่จะลาออกและความพึงพอใจในงาน : การวิจัยแบบผสานวิธี |
247 |
ความสัมพันธ์ระหว่างจิตสำนึกในการให้บริการและแรงจูงใจในการทำงานกับผลการปฎิบัติงานของพนักงานขาย |
248 |
เจตคติของชายและหญิงต่อการข่มขืน |
249 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าในตนเอง และกลวิธีการเผชิญปัญหาของพนักงานในบริษัทห้องเย็น เอเชี่ยน ซีฟู้ด จำกัด (มหาชน) |
250 |
อิทธิพลของมิติพื้นฐานในการตัดสินทางสังคมต่อการประเมินกลุ่มบุคคล |
251 |
การเปรียบเทียบเจตคติต่อการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นตอนต้นและวัยรุ่นตอนปลาย |
252 |
ผลของการฟังนิทานต่อพฤติกรรมการชะลอการได้รับความพึงพอใจในเด็กก่อนวัยเรียน |
253 |
ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาททางเพศและความพึงพอใจในงานของคนวัยทำงาน |
254 |
ผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมสำหรับเด็กภาวะพัฒนาการผิดปรกติหลายด้านต่อพฤติกรรมการเข้าสังคมและพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ขณะเข้ากลุ่ม |
255 |
List assignment problems |
256 |
การทำนายความชื่นชอบงานโฆษณาที่วางกรอบสารต่างกันจากความเป็นปัจเจกนิยม-คติรวมหมู่โดยมีเป้าหมายการควบคุมของบุคคลเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
257 |
ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ ต่อความพึงพอใจในความสัมพันธ์ของคู่รัก โดยมีองค์ประกอบของความรักทั้งสามเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
258 |
โมเดลเจตจำนงต่อการแสวงหาความช่วยเหลือจากนักวิชาชีพ : บทบาทการส่งผ่านของการประทับตราว่าด้วยค่าตามการรับรู้และเจตคติต่อการแสวงหาความช่วยเหลือ |
259 |
ประสบการณ์ความรุนแรง การเผชิญปัญหาและความสุขในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย : การวิจัยนำร่องแบบผสานวิธี |
260 |
ประสบการณ์การกระทำผิดซ้ำของเยาวชนชายในศูนย์ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน การศึกษารายกรณี |
261 |
คุณสมบัติของสามีในอุดมคติ ก่อนและหลังสมรส |
262 |
ปัจจัยคัดสรรทางจิตวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมและเจตคติต่อการซื้อสินค้าออนไลน์ |
ปี พ.ศ. 2552 |
263 |
การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน |
264 |
บทบาททางเพศ พฤติกรรมก้าวร้าว และกลวิธีในการเผชิญปัญหาของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
ปี พ.ศ. 2551 |
265 |
พฤติกรรมการหลบหนีการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา : การศึกษาเชิงคุณภาพ |
266 |
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบและการประเมินความปกติ |
267 |
ผลของการผูกมัดตนเองและโอกาสเลือกในการเขียนเรียงความต่อต้านเจตคติต่อความไม่คล้องจองทางปัญญา |
268 |
เหตุผลและพฤติกรรมในการเล่นการพนันฟุตบอลของนิสิตนักศึกษาชายในเขตกรุงเทพและปริมณฑล |
269 |
ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาททางเพศของวัยรุ่นและบทบาททางเพศของเพื่อนในอุดมคติ |
270 |
ผลของการจัดโปรแกรมการทำค่านิยมให้กระจ่างต่อความสุขของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา |
271 |
ความสัมพันธ์ระหว่างสัมฤทธิผลทางการเรียนกับความวิตกกังวลทั่วไปและความวิตกกังวลในการสอบ |
272 |
การเปรียบเทียบความแตกต่างความเครียดของวัยรุ่นที่อยู่ในครอบครัวที่หย่าร้าง และครอบครัวปกติ ศึกษาในวัยรุ่นช่วงอายุ 13-18 ปี |
273 |
ความสัมพันธ์ของบุคลิกภาพแบบหลงตนเอง การเห็นคุณค่าในตนเองและการประเมินความปกติ |
274 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าในตนเองของเด็กวัยรุ่นกับการเลี้ยงดูในรูปแบบที่แตกต่างกันตามการรับรู้ของตนเอง |
275 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในชีวิตของวัยรุ่นที่มีรูปแบบความผูกพันแตกต่างกัน |
276 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับการแสดงออกของตนกับการแต่งชุดนิสิตตามระเบียบการแต่งกายของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
277 |
ประสบการณ์ทางจิตใจภายหลังกลับคืนสู่สังคมของผู้ป่วยยาเสพติดที่บำบัดครบโปรแกรม และยังอยู่ในระยะติดตามผล |
278 |
การสร้างโปรแกรมการจัดการกับความโกรธสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
279 |
การเปรียบเทียบการเห็นคุณค่าในตนเองของเยาวชนหญิงที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศในสถานแรกรับเด็กหญิงบ้านธัญญพรกับเยาวชนหญิงที่ไม่เคยถูกล่วงละเมิดทางเพศ |
280 |
ความพึงพอใจในการฝึกงานและปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการฝึกงานของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
281 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความสนใจในการอ่าน เจตคติต่อการอ่านและบุคลิกภาพแบบห้าองค์ประกอบ |
282 |
เจตคติและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ ของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
283 |
การเปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารเสพติดของผู้ป่วยยาเสพติดในสถาบันธัญญารักษ์ |
284 |
การเปรียบเทียบความสามารถด้านการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีภาวะปรกติและมีภาวะซึมเศร้า |
285 |
ความสัมพันธ์ของการประเมินความปกติ การเห็นคุณค่าในตนและสุขภาวะทางจิต |
286 |
การเล่นเกมออนไลน์ และแรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ของนิสิตนักศึกษาปริญญาตรี |
287 |
ความสัมพันธ์ของสัมฤทธิผลทางการเรียนและการเข้าร่วมกิจกรรมกับการเห็นคุณค่าในตนเองของนิสิตระดับปริญญาตรี |
288 |
ความสัมพันธ์ของระดับความวิตกกังวล กับรูปแบบการเผชิญปัญหาของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
289 |
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบความผูกพัน และกลวิธีการเผชิญปัญหา ของนิสิตชั้นปีที่ 1 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
290 |
การทำหนังสือเพื่อให้ความรู้และคำแนะนำแก่วัยรุ่น ชื่อเรื่อง "โปรดอย่าโยน!!(ชีวิตของคุณทิ้ง)" |
291 |
ความสัมพันธ์ของความถี่ในการแสดงรูปบน hi5 กับพฤติกรรมการหลงตนเองในวัยรุ่นตอนปลาย |
292 |
ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติ อิทธิพลของบุคคลสำคัญ และพฤติกรรมการไปรับคำพยากรณ์ดวงชะตา |
293 |
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพกับความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานฝ่ายการขายและพนักงานฝ่ายเทคโนโลยีในบริษัทเอกชน |
294 |
ความสัมพันธ์ระหว่างจิตสำนึกสาธารณะ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การในพนักงานธนาคาร |
295 |
ความพึงพอใจในชีวิตของหญิงวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ |
296 |
อิทธิพลของความชื่นชอบศิลปินเกาหลีต่อการรับรู้สินค้าวัฒนธรรมเกาหลีและสินค้าวัฒนธรรมไทยของวัยรุ่นไทย |
297 |
อิทธิพลของการกำกับการแสดงออกของตนและประเภทของสินค้าต่อความสอดคล้องในตนเองของผู้บริโภค |
298 |
การตอบสนองต่องานโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ ของผู้ที่มีบุคลิกภาพแตกต่างกันตามการแบ่งประเภทบุคลิกภาพของ ไมเยอร์-บริกกส์ |
299 |
ความสัมพันธ์ระหว่างสถานะการทำงานของมารดากับบทบาททางเพศของลูกสาววัยรุ่นตอนต้น |
300 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับการแสดงออกของตนเองกับความเครียดในพนักงานบริการ |
301 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในรูปลักษณ์ของตนเองและความวิตกกังวลต่อการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นของวัยรุ่นตอนต้นเพศหญิง |
302 |
กระบวนการแก้ไขข้อผิดพลาดในงานบริการต่อประเภทของความผิดพลาดในธุรกิจร้านอาหาร |
303 |
ผลกระทบด้านอารมณ์และสังคมในพ่อแม่ที่มีบุตรมีความต้องการพิเศษ |
304 |
ผลกระทบของความคุ้นเคยและความเหนื่อยล้าต่อการตัดสินใจ |
ปี พ.ศ. 2550 |
305 |
ผลการปรึกษาเชิงจิตวิทยารายบุคคลต่อการเพิ่มความหมายในชีวิตของผู้ติดยาเสพติด |
306 |
การสำรวจความเชื่อ เจตคติ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง การรับรู้การควบคุมพฤติกรรมและพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนวิชามนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) ของนิสิตจุฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
307 |
การทำนายพฤติกรรมการทำงานแบบถ่วงความก้าวหน้าขององค์การและเพื่อนร่วมงาน จากบุคลิกภาพแบบหลงตนเอง ลักษณะนิสัยด้านความโกรธ และสิ่งเร้าความเครียดในการทำงาน |
308 |
ผลของท่าทีของผู้ซักถามและการมีผู้ที่ผู้ถูกซักถามไว้างใจอยู่ด้วยขณะซักถามต่อการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถาม |
309 |
ประสบการณ์ทางจิตใจของผู้ต้องขังหญิงคดีฆาตกรรมในทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่ |
310 |
การรับรู้ของผู้ปกครองที่มีต่ออาชาบำบัดสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ |
311 |
แหล่งความเครียดของนิสิตนักศึกษาชั้นปริญญาตรีปีสุดท้าย |
312 |
ความต้องการพื้นฐานของเด็กวัยรุ่นเร่ร่อนในเขตกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาสะพานพระพุทธยอดฟ้า |
313 |
การเปรียบเทียบการเห็นคุณค่าในตนเองของวัยรุ่นชายไทยที่มีพฤติกรรมรักร่วมเพศกับวัยรุ่นชายไทยที่มีพฤติกรรมรักต่างเพศ |
314 |
ความสัมพันธ์ระหว่างความไม่พึงพอใจในรูปลักษณ์และระดับการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย |
315 |
อิทธิพลของการชี้แนะทางภาษาด้วยการติดป้ายชื่อที่มีต่อความสามารถในการจำภาพที่รับรู้ทางตา |
316 |
ความแตกต่างระหว่างเพศในลักษณะที่พึงปราถนาในคู่ครองของวัยรุ่นตอนต้น และวัยรุ่นตอนปลาย |
317 |
อิทธิพลของเพศและรูปแบบการจูงใจผ่านโฆษณาที่มีต่อความชอบโฆษณาสิ่งพิมพ์ |
318 |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอายุการทำงานและเพศของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน บริษัทการบินไทยจำกัด (มหาชน) กับคะแนนการมีจิตสำนึกในการให้บริการ |
319 |
การสำรวจหน่วยงานกระตุ้นพัฒนาการสำหรับเด็กในกรุงเทพมหานคร |
320 |
บุคลิกภาพแบบหลงตนเองและบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ : ตัวทำนายผลงานและความพึงพอใจในงานของพนักงานขาย |
321 |
การพัฒนามาตรวัดการพัฒนาตนเองเพื่อการบรรลุเป้าหมาย |
322 |
อิทธิพลของสินค้าวัฒนธรรมเกาหลีต่อการรับรู้คนเกาหลี และสินค้าวัฒนธรรมเกาหลีอื่นๆ ของคนไทย |
323 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการพึ่งพาทางอารมณ์และความพึงพอใจในชีวิต |
324 |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพแบบห้าองค์ประกอบ และอัตมโนทัศน์ของวัยรุ่นตอนกลาง |
325 |
ลักษณะองค์การที่พึงปรารถนาของนิสิตนักศึกษา |
326 |
การเผยแพร่ความรู้จิตวิทยาแก่เยาวชนไทยด้วยสื่ออินเตอร์เน็ต : โครงการไซโคล่าดอทคอม |
327 |
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพกับการขาดงาน |
328 |
ความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยมในการทำงานต่อลักษณะขององค์การที่ต้องการทำงานของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 |
329 |
การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการศูนย์ดูแลรถยนต์ |
330 |
การเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพในสังคมเสมือนออนไลน์ |
331 |
เปรียบเทียบอัตมโนทัศน์ของเยาวชนชายที่กระทำความผิดในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน และที่ไม่ได้กระทำความผิด |
332 |
เปรียบเทียบการเลือกของเล่นให้ลูกชายอายุ 2-5 ปี ของพ่อที่มีบทบาททางเพศต่างกัน |
333 |
ผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยารายบุคคลต่อการเพิ่มความสามารถในการฟื้นพลังของผู้ติดยาเสพติด |
334 |
ผลของกลุ่มการศึกษาเชิงจิตวิทยาต่อความพึงพอใจในชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย |
335 |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในรูปลักษณ์ของตนเองกับการเปิดรับการแต่งกายตามกระแสนิยม |
336 |
เจตคติของผู้รับรู้ชายและหญิงต่อนิสิตหญิงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่แต่งกายด้วยเครื่องแบบนิสิตที่แตกต่างกัน |
337 |
อิทธิพลของลักษณะการแต่งกายและลักษณะนิสัยแบบยอมตาม-ครอบงำของพนักงานขายที่มีต่อความต้องการซื้อของลูกค้า |
338 |
วิธีการเผชิญปัญหาของนิสิตหญิงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่มีความหวังแตกต่างกัน |
339 |
การเปรียบเทียบความสามารถทางสังคมของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ |
340 |
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับพฤติกรรมสร้างสรรค์ในองค์กร |
341 |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพแบบอำนาจนิยมในเพศชายกับอคติต่อบุคคลรักเพศเดียวกันชายในที่ทำงาน |
342 |
เจตคติและปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าแฟชั่นเลียนแบบของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายและนิสิตปริญญาตรี |
343 |
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งเป้าหมายแบบหลีกเลี่ยงในนิสิตระดับปริญญาตรีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
344 |
ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะบุคลิกภาพแบบห้าองค์ประกอบ กับความสนใจในการเลือกลักษณะองค์การที่ต้องการร่วมงานด้วย |
345 |
รูปแบบความผูกพันของวัยรุ่นที่มีต่อพ่อแม่ คนรัก และเพื่อน |
346 |
ปัจจัยที่ช่วยพยากรณ์การเห็นคุณค่าในตนเองของชายและหญิงวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง |
347 |
การเปรียบเทียบวุฒิภาวะทางอาชีพของนิสิตชั้นปีที่ 4 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีเพศ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมนอกหลักสูตรต่างกัน |
348 |
การสำรวจเจตคติของบุคลากรในองค์กรและนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มีต่อนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
349 |
การเปรียบเทียบความสุขในการเรียนและผลการเรียนระหว่างนิสิตปริญญาตรี คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายวิทยาศาสตร์และสายศิลปศาสตร์ |
350 |
การเปรียบเทียบเจตคติของนักศึกษามหาวิทยาลัยเอกชนและมหาวิทยาลัยปิดของรัฐต่อพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส |
351 |
อิทธิพลของความขัดแย้งกับผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงานต่อพฤติกรรมการทำงานแบบถ่วงความก้าวหน้า |
352 |
ความพึงพอใจในการทำงานและปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ |
353 |
การสร้างหลักสูตรการฝึกอบรมความสามารถในการคิดนอกกรอบ |
354 |
การศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของความรู้สึกแสวงหาสิ่งตื่นเต้นเร้าใจกับพฤติกรรมการเล่นเกมออนไลน์ของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร |
355 |
อิทธิพลของบุคลิกภาพแบบหลงตนเองต่อปฏิกิริยาตอบสนองเมื่อได้รับการยอมรับหรือถูกปฏิเสธ |
356 |
ความสัมพันธ์ของบุคลิกภาพแบบหลงตนเองกับการรับรู้ตนเองและการรับรู้ของผู้อื่นเกี่ยวกับความเป็นผู้นำ พฤติกรรมการทำงานตามบทบาทและพฤติกรรมนอกเหนือบทบาท |
357 |
ผลของแนวโน้มการทำให้ตนเองเสียเปรียบ ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำกับความสำเร็จและการยืนยันคุณค่าในตนเอง ต่อพฤติกรรมการทำให้ตนเองเสียเปรียบ |
358 |
ผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มโยนิโสมนสิการที่มีต่อปัญญาในภาวะความสัมพันธ์เชื่อมโยงและภาวะความเปลี่ยนแปลง |
ปี พ.ศ. 2549 |
359 |
การทำนายความพึงพอใจในงาน และความผูกพันทางจิตใจต่อองค์การจากภาวะผู้นำแบบนักปฏิรูป โดยมีความชอบพอผู้นำเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
360 |
ผลของการใช้แบบฝึกความคิดนอกกรอบและการให้รางวัลต่อความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 ในกรุงเทพมหานคร |
361 |
อิทธิพลของบุคลิกภาพแบบหลงตนเองและผลป้อนกลับต่อการอนุมานสาเหตุ |
362 |
ผลของกลุ่มพัฒนาตนและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธเน้นศีลและปัญญาต่อสัมพันธภาพการปรึกษาเชิงจิตวิทยา และผลเนื่องต่อความพึงพอใจของผู้รับบริการ |
363 |
วัฒนธรรม เพศ และรูปแบบการจัดการกับความขัดแย้ง : การเปรียบเทียบระหว่างนิสิตนักศึกษาไทยและอเมริกัน |
364 |
พัฒนาการของความสามารถในการใช้เหตุผลเชิงอุปมาอุปไมยในเด็กไทย |
365 |
อิทธิพลของทิศทางของสารต่อการเปิดรับสื่อทางเพศผ่านอินเตอร์เน็ตในผู้ที่มีปฏิกิริยาทางจิตสูงและต่ำ |
366 |
ผลของความใกล้ชิดระหว่างบุคคลและผลงานต่อการยืนยันคุณค่าในความสัมพันธ์แบบคู่รัก |
367 |
ความสามารถในการกะประมาณจำนวนในเด็กอายุ 5-7 ปี |
368 |
การเข้าใจมโนทัศน์เกี่ยวกับการมีชีวิตและความตายในเด็กอายุ 5 - 7 ปี ที่มีสุขภาพปกติ |
ปี พ.ศ. 2548 |
369 |
การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างความพึงพอใจในความสัมพันธ์ระหว่างมารดากับบุตรสาววัยรุ่น |
370 |
ภาพในความคิดเกี่ยวกับคนสัญชาติต่างๆ ตามการรับรู้ของนิสิตนักศึกษาไทย |
371 |
การเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของบุคคลที่มีรูปแบบบุคลิกภาพแตกต่างกัน |
372 |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูและแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ |
373 |
ความสัมพันธ์ของความพึงพอใจของผู้บริโภค บุคลิกภาพของผู้บริโภค บุคลิกภาพของตราสินค้า และความภักดีต่อตราสินค้าในสินค้าประเภทรถยนต์นั่ง |
374 |
การเปรียบเทียบความแม่นยำในการจำคำศัพท์ผ่านการตัดสินการเรียนรู้ |
375 |
การพัฒนาแบบสัมภาษณ์งานแบบมีโครงสร้างเพื่อประเมินความโน้มเอียงในการทำงานเป็นทีม |
376 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนจากครอบครัวและองค์การความขัดแย้งระหว่างงานกับครอบครัว และความพึงพอใจในชีวิตด้านต่าง ๆ |
377 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ และความพึงพอใจในงาน โดยมีการมองโลกในแง่ดีเป็นตัวแปรกำกับ |
378 |
การเปรียบเทียบความตรงตามสภาพของวิธีการวัดความสอดคล้องระหว่างบุคคลและองค์การ ระหว่างแบบทางตรง แบบทางอ้อม และแบบที่พัฒนาขึ้นใหม่ |
379 |
การพัฒนามาตรวัดความโน้มเอียงในการทำงานเป็นทีม |
380 |
ความสัมพันธ์ของบทบาททางเพศกับความสำเร็จในอาชีพของผู้หญิงทำงาน |
381 |
การทำนายพฤติกรรมการใช้บริการร้านสตาร์บัคส์ตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน |
ปี พ.ศ. 2546 |
382 |
ผลของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การต่อผลการประเมินการปฏิบัติงาน |