ปี พ.ศ. 2557 |
1 |
กรอบความรู้เรื่องเพศตามทัศนะของฟูโกต์ในเพลงไทย |
2 |
การสื่อสารเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ของกุมารทองในสังคมไทย |
ปี พ.ศ. 2555 |
3 |
การสื่อสารทางการเมืองของ ทักษิณ ชินวัตร ในช่วงปี พ.ศ. 2549 – 2552 |
4 |
พัฒนาการการบริหารจัดการสื่อท้องถิ่นของวัชรพล ลิมปะพันธุ์ (แอ๊ด เทวดา) |
5 |
กระบวนการสื่อสารเพื่อสืบทอดประเพณีถือศีลกินผัก จังหวัดภูเก็ต |
6 |
การสื่อสารภาคประชาชนเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่เขตเศรษฐกิจประชาคมอาเซียน ในพื้นที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย |
7 |
การสื่อสารเพื่อขับเคลื่อนสังคมสีเขียวของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ |
8 |
การสื่อสารเพื่อสร้างเครือข่ายความมั่นคงทางอาหาร เรื่องข้าว ของบริษัททีวีบูรพา |
9 |
การตัดสินใจซื้อของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับเมนูอาหารและร้านอาหารผ่านเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาสื่อที่ผู้บริโภคสร้างเอง |
10 |
การใช้อินเทอร์เน็ตกับบทบาทความเป็นแม่บ้าน |
11 |
กลยุทธ์การสื่อสารในการสอนคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตสำหรับผู้สูงอายุที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมระดับกลาง |
12 |
การเลือกใช้สื่อและการออกแบบสารเพื่อการเคลื่อนไหวทางสังคมของโครงการบิ๊กทรี |
13 |
พัฒนาการการบริหารจัดการสื่อท้องถิ่นของวัชรพล ลิมปะพันธุ์ (แอ๊ด เทวดา) |
14 |
การสื่อสารทางการเมืองของ ทักษิณ ชินวัตร ในช่วงปี พ.ศ. 2549 – 2552 |
15 |
อัตลักษณ์ของนิตยสารที่เป็นกิจการเพื่อสังคม : บีแมกกาซีน |
ปี พ.ศ. 2554 |
16 |
การสื่อสารอัตลักษณ์ความเป็นชาติในกีฬามวยไทย |
17 |
คุณลักษณะของภาพยนตร์ผีตลกไทย ลักษณะชนชั้นและอุดมการณ์ชนชั้นทางสังคมที่ปรากฏในภาพยนตร์ผีตลกไทย |
18 |
การสื่อความหมายของภาพและภาวะหลังสมัยใหม่ในงานโฆษณาทางสิ่งพิมพ์ไทย |
19 |
การนำเสนอภาพและภาพแบบฉบับทางเพศในภาพข่าวกีฬา |
20 |
การประกอบสร้างเชิงสังคมของอารมณ์ขันในรายการตลกสถานการณ์ทางโทรทัศน์ไทย |
21 |
การรับรู้บทบาทและอัตลักษณ์ของพิธีกรรายการวิทยาศาสตร์ทางโทรทัศน์ |
22 |
การสื่อสารทางการเมืองผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ของกลุ่มคนเสื้อหลากสี |
ปี พ.ศ. 2553 |
23 |
ความเป็นจีนในการเล่าเรื่องของภาพยนต์จีนแผ่นดินใหญ่ที่ฉายต่างประเทศ ระหว่างปี พ.ศ. 2543-2551 |
24 |
ปัจจัยการสื่อสารกับการก่อตัวและการธำรงรักษากลุ่มแฟนคลับของสโมสรฟุตบอลในไทยพรีเมียร์ลีก |
25 |
การสื่อสาร ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกึ่งความจริง และการเรียนรู้ค่านิยมส่งเสริมสังคมจากภาพยนตร์การ์ตูนญี่ปุ่นชุดมาสค์ไรเดอร์ของกลุ่มแฟนคลับ |
26 |
การสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างคนพิการและคนไม่พิการผ่านสื่อกิจกรรม "ค่ายศิลปะเพื่อมวลมนุษย์ ART FOR ALL" |
27 |
พฤติกรรมการรับฟังเพลงเก่าของผู้ฟังเยส เรดิโอ เอฟ เอ็ม 93.5 เอช ดี วัน |
28 |
การเข้ารหัสและการถอดรหัสของโฆษณาส่งเสริมสังคมทางโทรทัศน์ไทย ในปี พ.ศ. 2551 |
29 |
รหัสและกระบวนการสร้างรหัสข่าวในบริการข้อความสั้นของสำนักข่าวเนชั่น |
30 |
ความหมายของการขัดขืนอำนาจของสังคมผ่านการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ไทย ระหว่าง พ.ศ. 2513 – 2550 |
31 |
บทบาทของรายการอาหารทางโทรทัศน์ในการสืบทอดวัฒนธรรมอาหาร |
32 |
การรับชมฟุตบอลพรีเมียร์ลีกอังกฤษผ่านอินเทอร์เน็ตของแฟนบอลชาวไทย |
33 |
ลักษณะพิธีกรรม ความหมายเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ และบทบาทของเซียมซีในสื่อออนไลน์ |
34 |
การสื่อสารเพื่อสร้าง ธำรงรักษาและต่อรองอัตลักษณ์ความเป็นมอญของกลุ่มชาวมอญพลัดถิ่นในประเทศไทยท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ |
35 |
การผลิตและการรับรู้ความเป็นไทยในการ์ตูนแอนิเมชันไทยที่แพร่ภาพทางโทรทัศน์ (พ.ศ.2551-2553) |
36 |
ตรรกะการบริโภคและการถอดรหัสความหมายสินค้าประเภทเครื่องปรุงรสจากโฆษณาทางโทรทัศน์ |
37 |
วิธีการเล่าเรื่องในเกมแบบสวมบทบาทของญี่ปุ่นและการมีส่วนร่วมของผู้เล่น |
38 |
ศักยภาพของมุกตลกและอารมณ์ขันในรายการโทรทัศน์ |
39 |
กระบวนการสื่อสารเพื่อปรับแปลงความหมายในพิธีกรรมงานศพ |
40 |
การสื่อสารกับวาทกรรมอัตลักษณ์ผู้สูงอายุในสังคมไทย |
41 |
การสื่อสารกับการเปลี่ยนแปลงและธำรงรักษาโครงสร้าง "ชนชั้น" : ศึกษากรณีการบริโภควัฒนธรรมฟุตบอลในสังคมไทย |
42 |
List assignment problems |
43 |
กลยุทธ์การบริหารจัดการวิทยุผ่านดาวเทียมที่ออกอากาศทางวิทยุชุมชนเครือข่ายทั่วประเทศ |
44 |
ความหมายของการขัดขืนอำนาจของสังคมผ่านการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ไทยระหว่าง พ.ศ.2513-2550 |
45 |
กระบวนการสื่อสารเพื่อปรับแปลงความหมายในพิธีกรรมงานศพ |
46 |
ความขัดแย้งทางสังคมในละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศในช่วงเวลาก่อนข่าวภาคค่ำกับการรับรู้ของผู้ชม |
47 |
ความเป็นจีนในการเล่าเรื่องของภาพยนตร์จีนแผ่นดินใหญ่ที่ฉายต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ.2543-2551 |
48 |
ปัจจัยการสื่อสารกับการก่อตัวและการธำรงรักษากลุ่มแฟนคลับของสโมสรฟุตบอลในไทยพรีเมียร์ลีก |
49 |
การสื่อสาร ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกึ่งความจริง และการเรียนรู้ค่านิยมส่งเสริมสังคมจากภาพยนตร์การ์ตูนญี่ปุ่นชุดมาสค์ไรเดอร์ของกลุ่มแฟนคลับ |
50 |
ลักษณะพิธีกรรม ความหมายเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ และบทบาทของเซียมซีในสื่อออนไลน์ |
51 |
การสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างคนพิการและคนไม่พิการผ่านสื่อกิจกรรม "ศิลปะเพื่อมวลมนุษย์ ART FOR ALL" |
52 |
ตรรกะการบริโภคและการถอดรหัสความหมายสินค้าประเภทเครื่องปรุงรสจากโฆษณาทางโทรทัศน์ |
53 |
พฤติกรรมการรับฟังเพลงเก่าของผู้ฟังเยส เรดิโอ เอฟ เอ็ม 93.5 เอช ดี วัน |
54 |
การเข้ารหัสและการถอดรหัสของโฆษณาส่งเสริมสังคมทางโทรทัศน์ไทย ในปี พ.ศ. 2551 |
55 |
บทบาทของรายการอาหารทางโทรทัศน์ในการสืบทอดวัฒนธรรมอาหาร |
56 |
การสื่อสารกับวาทกรรมอัตลักษณ์ผู้สูงอายุในสังคมไทย |
57 |
การผลิตและการรับรู้ความเป็นไทยในการ์ตูนแอนิเมชันไทยที่แพร่ภาพทางโทรทัศน์ (พ.ศ. 2551-2553) |
58 |
การรับชมฟุตบอลพรีเมียร์ลีกอังกฤษผ่านอินเตอร์เน็ตของแฟนบอลชาวไทย |
59 |
วิธีเล่าเรื่องในเกมแบบสวมบทบาทของญี่ปุ่นและการมีส่วนร่วมของผู้เล่น |
60 |
กระบวนการและกลยุทธ์การสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจ และการยอมรับของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ |
61 |
รหัสและกระบวนการสร้างรหัสข่าวในบริการข้อความสั้นของสำนักข่าวเนชั่น |
62 |
ศักยภาพของมุกตลกและอารมณ์ขันในรายการโทรทัศน์ |
ปี พ.ศ. 2552 |
63 |
การสื่อสารเพื่อการเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายสุขภาพ โดย กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ |
64 |
ทัศนคติ ความคิดเห็น และความพึงพอใจของผู้ฟังในจังหวัดเลยต่อบทบาทการอนุรักษ์ภาษาถิ่นเลยของสถานีวิทยุกระจายเสียงท้องถิ่นจังหวัดเลย |
65 |
การใช้สื่ออินเทอร์เน็ตเพื่อเป็นช่องทางการสื่อสารของการเลือกคู่ครอง |
66 |
ความร้ายกาจของตัวละครในละครโทรทัศน์ไทย |
67 |
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการถ่ายภาพ เนื้อหาความรู้ และคุณลักษณะผู้ใช้เว็บไซต์ชมรมถ่ายภาพ www.rpst-digital.org และ www.pixpros.net |
68 |
การใช้สื่อของผู้ปลูกถ่ายไขกระดูกเพื่อเสริมการบำบัด |
69 |
ปฏิสัมพันธ์ในชุมชนออนไลน์ของเว็บไซต์บิททอร์เร้นท์ |
70 |
พัฒนาการการแสดงสิทธิและเสียงของ "เครือข่ายคนดูหนัง" |
71 |
การบริโภคสัญญะและบทบาทการสื่อสารของกลุ่มผู้เล่นตุ๊กตาบลายธ์ |
72 |
พัฒนาการ หน้าที่ และผลกระทบของหน้าต่างโฆษณาบนอินเทอร์เน็ต |
73 |
บทบาทของการสื่อสารกับการสร้างและนำเสนออัตลักษณ์ของกลุ่มวัฒนธรรมย่อยนักเต้นบีบอยในประเทศไทย |
74 |
จุดกำเนิด พัฒนาการ และการแพร่กระจายของวัฒนธรรมดนตรีสกา-เร็กเก้ในประเทศไทย |
75 |
การสื่อสารเพื่อการสร้างพื้นที่สาธารณะของวัฒนธรรมย่อย Cos'Play |
76 |
การประเมินสื่อรณรงค์โรคเอดส์ในภาพยนตร์โฆษณาทางโทรทัศน์ของรัฐและเอกชนจากทัศนะของเยาวชน |
77 |
ค่านิยมในละครญี่ปุ่นสมัยใหม่ที่นำเสนอผ่านทางโทรทัศน์ |
78 |
พัฒนาการของบอยแบนด์ไทยระหว่างปี พ.ศ. 2535-2552 |
79 |
การพัฒนาและขยายผลองค์ความรู้การสื่อสารเพื่อสุขภาวะของเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยตำบลน้ำเกี๋ยน อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน |
80 |
บทบาทและกระบวนการให้สถานภาพแก่บุคคลและสถาบันในรายการ ตลาดสดสนามเป้า |
81 |
การสื่อสารเพื่อเตรียมการจัดตั้งจุดปฏิบัติการเรียนรู้วิทยุชุมชนตำบลบุฮมและตำบลเขาแก้ว จังหวัดเลย |
82 |
การสื่อสารเพื่อการเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายสุขภาพ โดยกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ |
83 |
พัฒนาการการแสดงสิทธิและเสียงของ "เครือข่ายคนดูหนัง" |
84 |
พฤติกรรมการรับข่าวสารและความพึงพอใจ ในข่าวสารเรื่องการยกเลิกระบบซี ของข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์ |
85 |
การใช้สื่ออินเทอร์เน็ต เพื่อเป็นช่องว่างทางการสื่อสารของการเลือกคู่ครอง |
86 |
การสังเคราะห์องค์ความรู้เรื่องการใช้และการเสริมความเข้มแข็งแก่การสื่อสารเพื่อการพัฒนาชุมชน |
87 |
ทัศนคติ ความคิดเห็น และความพึงพอใจของผู้ฟังในจังหวัดเลย ต่อบทบาทการอนุรักษ์ภาษาถิ่นเลย ของสถานีวิทยุกระจายเสียงท้องถิ่นจังหวัดเลย |
88 |
จุดกำเนิด พัฒนาการ และการแพร่กระจายของวัฒนธรรมดนตรีสกา-เร็กเก้ในประเทศไทย |
89 |
พัฒนาการ หน้าที่ และผลกระทบของหน้าต่างโฆษณาบนอินเทอร์เน็ต |
90 |
ความร้ายกาจของตัวละครในละครโทรทัศน์ไทย |
91 |
บทบาทและกระบวนการให้สถานภาพแก่บุคคลและสถาบันในรายการตลาดสดสนามเป้า |
92 |
ค่านิยมในละครญี่ปุ่นสมัยใหม่ที่นำเสนอผ่านทางโทรทัศน์ |
93 |
การใช้สื่อของผู้ปลูกถ่ายไขกระดูกเพื่อเสริมการบำบัด |
94 |
ปฏิสัมพันธ์ในชุมชนออนไลน์ของเว็บไซต์บิททอร์เร้นท์ |
95 |
พัฒนาการของบอยแบนด์ไทยระหว่างปี พ.ศ.2535-2552 |
96 |
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการถ่ายภาพเนื้อหาความรู้ และคุณลักษณะของผู้ใช้เว็บชมรมถ่ายภาพ www.rpst.digital.org และ www.pixpros.net |
97 |
การบริโภคสัญญะและบทบาทการสื่อสาร ของกลุ่มผู้เล่นตุ๊กตาบลายธ์ |
98 |
บทบาทของการสื่อสารกับการสร้าง และนำเสนออัตลักษณ์ของกลุ่มวัฒนธรรมย่อยนักเต้นบีบอยในประเทศไทย |
99 |
การสื่อสารเพื่อการสร้างพื้นที่สาธารณะของวัฒนธรรมย่อย Cos'Play |
ปี พ.ศ. 2551 |
100 |
การวิเคราะห์สัมพันธบทของกระบวนการสร้างการ์ตูนแอนิเมชั่น 4 Angies สี่สาวแสนซนจากผู้ดำเนินรายการผู้หญิงถึงผู้หญิง |
101 |
การใช้สื่อเพื่อสร้างและธำรงรักษาอัตลักษณ์ของแฟนสโมสรฟุตบอลจังหวัดชลบุรี |
102 |
การบริหารจัดการจุดปฎิบัติการเรียนรู้วิทยุชุมชนปฐมสาครเพื่อการพัฒนาสู่ความยั่งยืน |
103 |
การใช้สื่อเพื่อสร้างและธำรงรักษาอัตลักษณ์ ของแฟนสโมสรฟุตบอลจังหวัดชลบุรี |
ปี พ.ศ. 2550 |
104 |
การสร้างความหมายและบทบาทหน้าที่ของฉากและสถานที่ในละครโทรทัศน์ไทยประเภทรักแนวตลก |
105 |
การสื่อสารเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะด้วยโยคะ |
106 |
พฤติกรรมการรับข่าวสารและความพึงพอใจในข่าวสารเรื่องการยกเลิกระบบซีของข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์ |
107 |
กระบวนการสร้างสรรค์และนำดนตรีของ ดนู ฮันตระกูล มาใช้ในงานสื่อสารมวลชน |
108 |
มิติ "ความเป็นไทย" ในหนังสือการ์ตูนไทย |
109 |
กระบวนการสื่อสารกับเยาวชนของเครือข่ายครูนักรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ |
110 |
บทบาทของการสื่อสารต่อการธำรงรักษาเครือข่ายแฟนคลับของวงโมเดิร์นด็อก |
111 |
การสื่อสารในเครือข่ายละครรณรงค์งดเหล้า |
112 |
ความสัมพันธ์ทางสังคมกึ่งความจริงระหว่างผู้ชมกับผู้ดำเนินรายการการขายสินค้าตรงผ่านสื่อโทรทัศน์ |
ปี พ.ศ. 2549 |
113 |
ความสามารถด้านการสื่อสารเพื่อสุขภาวะของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ดีเด่นระดับชาติ จังหวัดอำนาจเจริญ |
114 |
กระบวนการต่อรองของหมอลำและผู้ชมหมอลำที่มีต่อบทบาทและอิทธิพลของระบบอุตสาหกรรมวัฒนธรรม |
115 |
การสื่อสารในเครือข่ายของโครงการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ มูลนิธิหมอชาวบ้าน |
116 |
การสื่อสารเพื่อการสร้างความรู้ ทัศนคติ และการยอมรับกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ของผู้มาใช้บริการศูนย์ส่งเสริมสุขภาพธารน้ำแร่ โรงพยาบาลระนอง |
117 |
การสื่อสารเพื่อถ่ายทอดความรู้และอุดมการณ์ชาตินิยมสู่คนรุ่นใหม่ผ่านละครวิทยุอิงประวัติศาสตร์คณะรังสิมันต์ |
118 |
บทบาทของการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเพื่อดำรงรักษาความเป็นชุมชนเข้มแข็งบ้านน้ำเกี๋ยน กิ่งอำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน |
119 |
การบริหารงานวิทยุชุมชนควนเนียง ตำบลบางเหรียง และวิทยุชุมชนชวาทอง ตำบลบ้านนา จังหวัดสงขลา |
120 |
การสื่อความหมายตรรกะการบริโภคของงานมหกรรมแสดงสินค้า |
ปี พ.ศ. 2548 |
121 |
การถ่ายโยงเนื้อหาการรำไทยจากการสื่อสารระหว่างบุคคลไปสู่การสื่อสารฝ่านแผ่นซีดีวีดิทัศน์ |
122 |
ของเล่นพื้นบ้านในฐานะสื่อเพื่อการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับเด็กและเยาวชน ตำบลป่าแดด อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย |
123 |
กระบวนการแสวงหาข้อมูลข่าวสารในการขอมีสัญชาติไทยของชนกลุ่มน้อยในเขตอำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย |
124 |
บทสังเคราะห์ภาพรวมองค์ความรู้ ที่ได้จากงานวิจัยในโครงการชุดการสื่อสารเพื่อชุมชน |
ปี พ.ศ. 2547 |
125 |
แนวทางการพัฒนายุทธศาสตร์การสื่อสารผ่านสื่อมวลชนและสื่อบุคคลเพื่อให้บริการไปรษณีย์เชิงธุรกิจของบริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด |
126 |
ทัศนะของผู้ชมที่มีต่อภาพยนตร์อเมริกันแนวชีวิตในฐานะสื่อเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในการพัฒนาตนเอง |
127 |
กระบวนการสร้างความหมาย และบทบาทวาทกรรม "รายการนายกฯทักษิณคุยกับประชาชน" |
128 |
การตีความของผู้รับสารชายไทยต่อภาพของวีรบุรุษแบบอเมริกันจากภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด |
ปี พ.ศ. 2546 |
129 |
วัฒนธรรมองค์กรและการปรับตัวทางวัฒนธรรมของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 11 |
130 |
วาทกรรมเชิงวิพากษ์ในรายการ "รัฐบานหุ่น" ทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวี |
131 |
การต่อรองเกี่ยวกับการควบคุมเนื้อหาระหว่างผู้ว่าจ้างการผลิตสารคดีวิชาการ เรื่องสารคดีคนจน |
132 |
กลยุทธ์การสร้างตลาดของสถานีรูปแบบรายการเพลง "แบงคอก เรดิโอ" |
133 |
บทบาทของการสื่อสารผ่านสื่อกลางคอมพิวเตอร์กับการสร้างความสัมพันธ์แบบชุมชนเสมือนของผู้สูงอายุสมาชิก OPPY Club |
134 |
สถานภาพสื่อซีดีรอมเพื่อการศึกษา และกระบวนการผลิต |
135 |
การควบคุมของรัฐและการแทรกแซงสื่อมวลชนในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร (2544-2545) |
ปี พ.ศ. 2545 |
136 |
การวิเคราะห์วาทกรรมเรื่องเสรีภาพทางเพศ ในการตอบปัญหาทางเพศของสื่อมวลชนไทย |
137 |
การใช้สัญญะในภาพยนตร์โฆษณาของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทย |
138 |
การถ่ายโยงเนื้อหาทางเพศจากวรรณกรรมสู่ภาพยนตร์เรื่อง "จัน ดารา" |
ปี พ.ศ. 2544 |
139 |
ประโยชน์ที่เอื้อต่อกันจากสัมพันธภาพระหว่างแหล่งข่าวกับสื่อมวลชนสายเทคโนโลยีสารสนเทศ |
ปี พ.ศ. 2542 |
140 |
การวิเคราะห์วิธีการเขียนบทละครสำหรับสื่อมวลชน : บทเรียนจากงานของสมสุข กัลย์จาฤก |
141 |
กลยุทธ์การใช้สื่อและกิจกรรมรณรงค์ของ บอดี้ ช็อปเพื่อ นำเสนอเนื้อหาสิ่งแวดล้อม |
142 |
สถานภาพทางการศึกษาสื่อมวลชนไทยโดยนักวิจัยชาวต่างประเทศ |
ปี พ.ศ. 2541 |
143 |
การวิเคราะห์การสื่อสารในภาวะวิกฤติของ บริษัท โททาล เอ็กซ์โพลเรชั่น แอนด์ โปรดักซ์ชั่น ไทยแลนด์ |
144 |
โครงสร้างธุรกิจภาพยนตร์ต่างประเทศในประเทศไทย (พ.ศ.2537-2541) |
145 |
ประสิทธิผลของสื่อประชาสัมพันธ์โครงการฉลากประหยัดไฟ |
146 |
การวิเคราะห์ "เซ็กซ์ แอพพีล" ในภาพโฆษณาทางนิตยสาร |
147 |
แนวทางการส่งเสริมและปรับประสานสื่อนาฏยศิลปผ่านสื่อโทรทัศน์ |
148 |
เศรษฐศาสตร์การเมืองของวิทยุกระจายระบบเอฟ.เอ็ม.ในกรุงเทพมหานคร |
149 |
การพัฒนาเกณฑ์หรือตัวบ่งชี้คุณภาพรายการละครโทรทัศน์ |
150 |
แนวคิดและการทำงานของสรรพสิริ วิริยศิริ ในงานข่าวโทรทัศน์ไทย |
151 |
พัฒนาการของรายการสารคดีโทรทัศน์ไทยจากปี พ.ศ.2530 ถึง 2541 |
ปี พ.ศ. 2540 |
152 |
มิติแห่งการบริโภคที่ปรากฏในนิตยสารผู้หญิง |
153 |
กลยุทธ์การใช้อารมณ์ขันในการโฆษณาทางโทรทัศน์ |
154 |
พัฒนาการ การแสดงของ ล้อต๊อก ศิลปินตลกไทย |
155 |
ทิศทางของการดูแลสุภาพในรายการสุขภาพทางโทรทัศน์ |
156 |
การวิเคราะห์ความสามารถในการประพันธ์เพลงเพื่อใช้ในงานสื่อมวลชนของ สง่า อารัมภีร |
157 |
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสำเร็จในชีวิตและผลงานของ คุณเอกชัย นพจินดา ในฐานะนักสื่อสารมวลชนด้านกีฬา |
158 |
การศึกษาความคิดเห็นเรื่องปัจจัยด้านโครงสร้างสังคม และทัศนคติของคนไทยที่สัมพันธ์กับพัฒนาการของอินเทอร์เนต |
159 |
การวิเคราะห์บทบาททางเพศในรายการทอล์คโชว์และวาไรตี้โชว์ ทางโทรทัศน์ไทย |
160 |
ประสิทธิผลของโครงการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมไทยคม : วิจัยกรณีการศึกษาแบบนอกระบบโรงเรียน อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ |
ปี พ.ศ. 2539 |
161 |
การสำรวจสถานภาพแห่งองค์ความรู้เรื่อง "สตรีกับสื่อมวลชนในประเทศไทย พ.ศ. 2520-2535" : รายงานผลการวิจัย |
162 |
ภาพลักษณ์ของวีรบุรุษแบบผู้ร้ายกลับใจที่ปรากฏในสื่อมวลชน |
163 |
การวิเคราะห์กลยุทธ์การสื่อสารของรายการ "เรารักศิลปวัฒนธรรมไทย" ทางสื่อโทรทัศน์ |
164 |
วิเคราะห์โครงสร้างการเล่าเรื่องในภาพยนตร์อเมริกันที่มีตัวเอกเป็นสตรี |
165 |
การสื่อสารในภาวะความเสี่ยงของผู้รับสารในเขตที่จะมีการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังความร้อนจากขยะ จังหวัดเชียงใหม่ |
166 |
การวิเคราะห์ข้อเขียนที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับโหราศาสตร์การเมือง ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ระหว่างปี พ.ศ.2534-2536 |
167 |
การรับรู้ภาพของครอบครัวผ่านละครโทรทัศน์ |
168 |
กลยุทธ์การสื่อสารแนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพ ผ่านรูปแบบที่เป็นการ์ตูนของคุณประยูร จรรยาวงษ์ |
169 |
มิติที่หยุดนิ่งและมิติที่เคลื่อนไหวในพัฒนาการภาพยนตร์ไทย |
170 |
วัฒนธรรมองค์การสื่อสิ่งพิมพ์กับขีดความสามารถ ในการขยายธุรกิจข้ามสื่อของบริษัทเนชั่น พับลิชซิ่งกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) |
171 |
กลยุทธ์การสร้างเหตุการณ์เทียมในสื่อโฆษณาที่อยู่อาศัยแบบคอนโดมิเนียม |
172 |
การศึกษาสถานภาพ ปัญหาอุปสรรค และความเป็นไปได้ของการผลิตรายการภาพยนตร์การ์ตูนชุดทางโทรทัศน์ ของผู้ผลิตในประเทศไทย |
173 |
การวิเคราะห์เนื้อหาการนำเสนอภาพของความเป็นชายในโฆษณาเบียร์สิงห์ |
ปี พ.ศ. 2538 |
174 |
การศึกษาปัจจัยส่งเสริมและอุปสรรค ที่เกี่ยวข้องในการสร้างภาพลักษณ์ที่ดี ขององค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.) |
175 |
การใช้สื่อสมัยใหม่ในงานศิลปะของศิลปินร่วมสมัยในประเทศไทย |
176 |
จินตภาพทางศิลปวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานครที่นำเสนอผ่านสื่อ |
177 |
ภาพลักษณ์ของโฆษกสตรีในหน่วยงานราชการที่ปรากฎในสื่อสิ่งพิมพ์ |
178 |
ความคิดเห็นของผู้รับสารที่มีต่อแนวคิดเรื่อง "ความเป็นไทย" ในภาพยนตร์โฆษณาที่เน้นความเป็นไทยจากสื่อโทรทัศน์ |
179 |
การแสวงหาข้อมูลข่าวสารเพื่อการปรับตัว ของอาจารย์ชาวต่างประเทศ ของสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ |
180 |
ภาพของโสเภณีในละครโทรทัศน์ ปี 2535 |
ปี พ.ศ. 2535 |
181 |
อาชีพของสตรีในละครโทรทัศน์ |
ปี พ.ศ. 2533 |
182 |
บทบาทหน้าที่ของสิ่งพิมพ์บันเทิงที่สนับสนุนโทรทัศน์ |
183 |
การสื่อความหมายในนิตยสารการ์ตูนขายหัวเราะฉบับกระเป๋า |
184 |
การสร้างความเป็นจริงทางสังคมของภาพยนตร์ไทย กรณีตัวละครหญิงที่มีลักษณะเบี่ยงเบนปี พ.ศ. 2528-2530 |
185 |
บทบาทและการเสื่อมสลายของรองเง็งตันหยง |
ปี พ.ศ. 2529 |
186 |
แบบจำลองอันหลากหลายแห่ง "ความเป็นมนุษย์" |
187 |
จิตสำนึกจากพิธีกรรม : ความเชื่อ และศักยภาพของท้องถิ่น |
ปี พ.ศ. 2527 |
188 |
อุดมการ : แนวคิดและแนววิเคราะห์ |
189 |
พัฒนาการความคิดมาร์กซิสต์ในศตวรรษที่ 20 : สำนักแฟรงเฟิร์ต |
ปี พ.ศ. 2525 |
190 |
บทวิเคราะห์ "ความกลัวในสังคมไทย" ด้วยทฤษฎีจิตวิทยา จิตวิเคราะห์ และสังคมวิทยามาร์กซิสม์ |