ปี พ.ศ. 2561 |
1 |
การวิจัยและพัฒนาสารสกัดจากว่านอึ่งเพื่อใช้ประโยชน์ในอาการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ระยะ 3 |
ปี พ.ศ. 2559 |
2 |
การสำรวจสมุนไพรสำหรับโรคที่เกิดจากการเสื่อมในผู้สูงอายุ โดยรอบมหาวิทยาลัยนเรศวร ระยะ 2 |
3 |
การบ่งชี้สารต้านฟอสโฟไดเอสเทอเรสไฟว์ในพืชตระกูล Eulophia โดยใช้เทคนิคทางเมตาบอโลมิก |
4 |
การศึกษาฤทธิ์ต้านการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศและต้านความดันปอดสูงของสารสกัดว่านอึ่ง |
5 |
การวิจัยและพัฒนาสารสกัดจากว่านอึ่งเพื่อใช้ประโยชน์ในอาการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศและความดันปอดสูง |
ปี พ.ศ. 2558 |
6 |
การวิจัยและพัฒนาลูกประคบลดเซลลูไลท์ |
7 |
การสำรวจสมุนไพรสำหรับโรคที่เกิดจากการเสื่อมในผู้สูงอายุ โดยรอบมหาวิทยาลัยนเรศวร |
8 |
การศึกษาเมตาบอโลมิกและลายพิมพ์ดี เอ็น เอของพรมมิและพืชสกุล Bacopa ที่พบในประเทศไทย |
9 |
การพัฒนา affinity column chromatography ในการศึกษา synergistic effect ของสาร shatavarins ในรากสามสิบ |
ปี พ.ศ. 2557 |
10 |
การศึกษาเมตาบอไลท์ของ Bacopaside I สารออกฤทธิ์ทาง ชีวภาพจากพรมมิในหลอดทดลอง และสัตว์ทดลอง |
11 |
การวิจัยและพัฒนาสารสกัดจากว่านอึ่งเพื่อใช้ประโยชน์ในอาการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศและความดันปอดสูง |
12 |
การทดสอบประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์ยับยั้งการเจริญของขนรักแร้ที่มีว่านมหาเมฆเป็นองค์ประกอบ |
13 |
การศึกษาสารต้านฟอสโฟไดเอสเทอเรสในพืชและสิ่งมีชีวิตในทะเลไทย |
ปี พ.ศ. 2556 |
14 |
การศึกษาสารอนุพันธ์ของเคอคูมินในการเป็นสารฤทธิ์ต้านฟอสโฟไดเอสเทอเรสไฟว์ |
15 |
การศึกษาสารต้านเอนไซม์ฟอสฟอไดเอสเทอเรสไฟฟ์จากสมุนไพรไทย(นางสาวประภาพรรณ เต็มกิจถาวร) |
16 |
สารต้านเอนไซม์ไฟว์แอลฟารีดักเทสในสารกลุ่มเซสควิเทอร์ปีนจากแหล่งธรรมชาติและการสังเคราะห์ |
17 |
ทุนอุดหนุนการศึกษาและวิจัยระดับปริญญาเอก หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาเภสัชศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) |
ปี พ.ศ. 2555 |
18 |
การศึกษาสารต้านเอนไซม์ฟอสฟอไดเอสเทอเรสไฟฟ์จากสมุนไพรไทย(นางสาวประภาพรรณ เต็มกิจถาวร) |
19 |
การผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดีที่จำเพาะต่อการ shatavarin IV เพื่อใช้ในการควบคุมคุณภาพราก |
20 |
ฤทธิ์ของสมุนไพรพรมมิต่อความดันโลหิต และ การเปลี่ยนแปลงแผนภูมิโปรตีนในหนูที่มีภาวะความดันโลหิตสูง |
ปี พ.ศ. 2554 |
21 |
การศึกษาสารต้านแอนโดรเจนในว่านมหาเมฆ |
22 |
การประเมินฤทธิ์การต้านเชื้อราจากรากสามสิบ |
23 |
สารต้านเอนไซม์ไฟว์แอลฟารีดักเทสในสารกลุ่มเซสควิเทอร์ปีนจากแหล่งธรรมชาติและการสังเคราะห์ |
24 |
ศักยภาพของสารสกัดจากแก่นต้นสาเกต่อการฟื้นฟูการสร้างคอลลาเจนในเซลล์ไฟโบรบลาสต์จากผิวหนังมนุษย์ที่ถูกรังสียูวีบีและกลไกที่เกี่ยวข้อง |
25 |
การศึกษาหาสารต้านอะเซติลโคลีนเอสเตอเรสจากต้นทุ้งฟ้า |
26 |
การศึกษาพัฒนาพรมมิเพื่อใช้เป็นสมุนไพรบำรุงความจำระยะที่ 4 |
27 |
การผลิตสารภูมิต้านทานแบบมอโนโคลนอลต่อบาโคพาไซด์วัน และบาโคพาไซด์เอทรี เพื่อควบคุมคุณภาพ และปรับปรุงพันธุ์สมุนไพรพรมมิ |
28 |
กลไกของเถาวัลย์เปรียงต่อการเกิด apoptosis ของเซลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่เพาะเลี้ยง |
29 |
พิไพรินควบคุมการแสดงออกของโปรตีนในเซลล์เพาะเลี้ยงคาโก้ทู |
ปี พ.ศ. 2553 |
30 |
โครงการ การศึกษาฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันของสารสกัดจากผลสมอพิเภก (Terminalia bellerica Roxb.) |
31 |
การศึกษาพัฒนาพรมมิเพื่อใช้เป็นสมุนไพรบำรุงความจำระยะที่ 4 |
32 |
การผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดีที่จำเพาะต่อการ shatavarin IV เพื่อใช้ในการควบคุมคุณภาพราก |
33 |
การศึกษาสารต้านฟอสโฟไดเอสเทอเรสในพืชและสิ่งมีชีวิตในทะเลไทย |
34 |
การศึกษาหาสารต้านอะเซติลโคลีนเอสเตอเรสจากต้นทุ้งฟ้า |
35 |
การศึกษาสารที่มีฤทธิ์ในการต้านเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสจากแหล่งธรรมชาติและจากการสังเคราะห์ |
36 |
การศึกษาการใช้ประโยชน์ทางยาของสมุนไพรว่านมหาเมฆ |
37 |
ฤทธิ์ต้านการแพ้ของสารสกัดสมอพิเภก |
38 |
ฤทธิ์ต้านมะเร็งลำไส้ใหญ่ของสมุนไพรไทยในเซลล์เพาะเลี้ยง |
39 |
ฤทธิ์ยับยั้งการดูดซึมโคเลสเตอรอล ของสมุนไพรไทยในเซลล์ลำไส้เพาะเลี้ยง |
40 |
การศึกษาหาสารต้านอะเซติลโคลีนเอสเตอเรสจากต้นทุ้งฟ้า |
ปี พ.ศ. 2552 |
41 |
โครงการวิจัย การยับยั้งการดูดซึมโคเลสเตอรอลของสมุนไพรไทย ในเซลล์ลำไส้เพาะเลี้ยง |
42 |
การศึกษาโครงการย่อย 1 สารต้านเอนไซม์ไฟว์แอลฟารีดักเทสในว่านมหาเมฆ : แผนการศึกษาการใช้ประโยชน์ทางยาของสมุนไพรว่านมหาเมฆ |
43 |
โครงการย่อย 3 กลไกการออกฤทธิ์ต้านแอนโดรเจนของว่านมหาเมฆในเซลล์เพาะเลี้ยง : แผนการศึกษาการใช้ประโยชน์ทางยาของสมุนไพรว่านมหาเมฆ |
44 |
การศึกษาพิษแบบเฉียบพลัน และกึ่งเรื้อรังของสารสกัดสมุนไพรจากรากพุดจีบ |
45 |
ฤทธิ์ลดการดูดซึมโคเลสเตอรอลของสมุนไพรไทยในเซลล์ลำไส้เพาะเลี้ยง |
46 |
การศึกษาสารต้านเอนไซม์อะเซติลโคลินเอสเตอเรสจากสมุนไพรในกลุ่มพืชตระกูล Stephania และอนุพันธ์ที่เกิดจากการดัดแปลงโครงสร้างทางเคมี |
47 |
การศึกษาพัฒนาสมุนไพรพรมมิเพื่อใช้เป็นสมุนไพรบำรุงความจำ -โครงการบริหารงานวิจัย |
48 |
การศึกษาสารที่มีฤทธิ์ในการต้านเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสจากแหล่งธรรมชาติและจากการสังเคราะห์ |
49 |
การศึกษาพัฒนาสมุนไพรพรมมิเพื่อใช้เป็นสมุนไพรบำรุงความจำ -การศึกษาปัจจัยในการเก็บเกี่ยวที่มีผลกับปริมาณของ Saponins ในพรมมิ |
50 |
การหาสารต้านฟอสโฟไดเอสเตอเรสในกวาวเครือดำ |
51 |
การผลิตสารภูมิต้านทานแบบมอโนโคลนอลต่อบาโคพาไซด์วัน และบาโคพาไซด์เอทรี เพื่อควบคุมคุณภาพ และปรับปรุงพันธุ์สมุนไพรพรมมิ |
52 |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาอมฆ่าเชื้อจากสารสกัดพริกไทย |
53 |
การยับยั้งการดูดซึมโคเลสเตอรอลของสมุนไพรไทย ในเซลล์ลำไส้เพาะเลี้ยง |
54 |
การศึกษาการใช้ประโยชน์ทางยาของสมุนไพรว่านมหาเมฆ |
55 |
การศึกษาฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันของสารสกัดจากผลสมอพิเภก [Terminalia bellerica Roxb.] |
56 |
การศึกษาสารที่มีฤทธิ์ในการต้านเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสจากแหล่งธรรมชาติและจากการสังเคราะห์ |
57 |
การสำรวจศักยภาพของ มะม่วง ในการปกป้องและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมอง |
ปี พ.ศ. 2551 |
58 |
โครงการ : ฤทธิ์ป้องกันเซลล์สมองเพาะเลี้ยงของสมุนไพรไทยจากพิษของอนุมูลอิสระ |
59 |
การตรวจหาสารสกัดจากพืชที่ออกฤทธิ์ต้านเอนไซม์ไทโรซิเนส |
60 |
การพัฒนาวิธีการแยกและบ่งชี้สารต้านออกซิเดชันในสารสกัดจากพืชอย่างต่อเนื่องด้วยเทคนิคการต่อเครื่องตรวจวัดฤทธิ์ต้านออกซิเดชันเข้ากับเครื่องแยกของเหลวด้วยความดันสูง |
61 |
การแยกหาสารต้านเอนไซม์อะเซติลโคลีนเอสเตอเลสจากรากพุดซ้อน |
62 |
การตรวจสอบฤทธิ์ต้านเอนไซม์ฟอสโฟไดเอสเทอเรสไฟฟ์ในสมุนไพรไทยที่ใช้เป็นยาบำรุงกำลังและเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ |
63 |
การศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อคุณภาพและความคงตัวของสมุนไพรหม่อน |
64 |
การศึกษาการใช้ประโยชน์ทางยาของสมุนไพรว่านมหาเมฆ |
65 |
โครงการจัดทำมาตรฐานสมุนไพรหม่อนเพื่อบรรจุในตำรามาตรฐานยาสมุนไพรไทย |
66 |
การพัฒนาสารสกัดหยาบขมิ้นชันในรูปอนุภาคไขมันแข็งขนาดไมครอน |
67 |
การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดใบหม่อนต่อการปรับตัวของ adenosine signaling เพื่อนำไปใช้ในการรักษาการติดยา |
68 |
การศึกษาฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันของสารสกัดจากผลสมอพิเภก |
69 |
การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดใบหม่อนต่อการปรับตัวของ adenosine singaling เพื่อนำไปใช้ในการรักษาการติดยา |
70 |
การหาสารต้านฟอสโฟไดเอสเตอเรสในสมุนไพรไทย ที่มีฤทธิ์เสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ |
71 |
ฤทธิ์ป้องกันเซลล์สมองเพาะเลี้ยงของสมุนไพรไทย จากพิษของอนุมูลอิสระ |
ปี พ.ศ. 2550 |
72 |
การผลิตสารภูมิต้านทานแบบมอโนโคลนอลต่อบาโคพาไซด์วันและบาโคไซด์เอทรีเพื่อควบคุมคุณภาพและปรับปรุงพันธุ์สมุนไพรพรมมิ |
73 |
การศึกษาพัฒนาพรมมิเพื่อใช้เป็นาสมุนไพรบำรุงความจำ (ระยะที่ 3) |
74 |
การผลิตสารภูมิต้านทานแบบมอโนโคลนอลต่อบาโคพาไซด์วัน และบาโคพาไซด์เอทรีเพื่อควบคุมคุณภาพและปรับปรุงพันธุ์สมุนไพรพรมมิ |
75 |
การพัฒนาสารสกัดหยาบขมิ้นชัน ในรูปอนุภาคไขมันแข็งขนาดไมครอน |
ปี พ.ศ. 2549 |
76 |
โครงการแผนงานวิจัยการศึกษาพัฒนาสมุนไพรพรมมิ |
ปี พ.ศ. 2548 |
77 |
การตั้งตำรับและพัฒนาสูตรตำรับแกรนูลขมิ้นชันที่ถูกเคลือบด้วยพอลิเมอร์โดยใช้ระบบลอยตัว |
78 |
การศึกษาฤทธิ์การกระตุ้นภูมิคุ้มกันในหลอดทดลองของสมุนไพรไทยที่ใช้เป็นยาอายุวัฒนะบางชนิด |
79 |
การพัฒนาวิธีการสกัดและควบคุมคุณภาพของพืชสมุนไพรขิง พริกไทย และดีปลี |
80 |
การแยกหาสารต้านเอนไซม์อะเซติลโคลีนเอสเตอเรส จากรากพุดจีบ |
81 |
การศึกษาฤทธิ์การกระตุ้นภูมิคุ้มกันในหลอดทดลอง ของสมุนไพรไทยที่ใช้เป็นยาอายุวัฒนะบางชนิด |
82 |
การศึกษาสารต้านเอนไซม์อะเซติลโคลินเอสเตอเรส จากสมุนไพรในกลุ่มพืชตระกูล Stephania และอนุพันธ์ที่เกิดจากการดัดแปลงโครงสร้างทางเคมี |
83 |
การตั้งตำรับและพัฒนาสูตรตำรับแกรนูลขมิ้นชันที่ถูกเคลือบด้วยพอลิเมอร์ โดยใช้ระบบลอยตัว |
84 |
การตรวจสอบฤทธิ์ต้านเอนไซม์ฟอสโฟไดเอสเทอเรส ในสมุนไพรไทยที่ใช้เป็นยาบำรุงกำลังและเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ |
ปี พ.ศ. 2546 |
85 |
การตรวจหาสารต้านเอนไซม์อะเซติลโคลินเอสเตอเรสจากพืชในประเทศไทย |
ปี พ.ศ. 2545 |
86 |
การพัฒนาสูตรตำรับการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพและการทดสอบประสิทธิภาพของน้ำยาบ้วนปากที่มีสารสกัดจากใบฝรั่ง |
ปี พ.ศ. 2544 |
87 |
การศึกษาเภสัชจลนศาสตร์ของสารกลุ่มโพลีฟินอลจากชาเขียว ในตำรับยาครีม ในการผ่านผิวหนังของหนู |
88 |
การซึมผ่านผิวหนังของ [-] epigallocathechin-3-gallate ในตำรับโลชันที่ประกอบด้วยสารสกัดชาเขียว |
ปี พ.ศ. 2536 |
89 |
การศึกษาทางพฤกษเคมีของก้นจ้ำ |
ปี พ.ศ. ไม่ระบุ |
90 |
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพรพรมมิ และสารสำคัญต่อระบบหัวใจร่วมหลอดเลือดในหนู |